Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่สองของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่สองของการคลอด
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและ
จิตสังคมในระยะที่สองของการคลอด
การเปลี่ยนแปลงของแรงผลักดันทารก ได้แก่ แรงจากการหดรัดตัวของมดลูกและการหดรัดตัวของ กล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม
การหดรัดตัวของมดลูก ระยะนี้มดลูกจะมีการหดรัดตัวถี นานและรนุ แรงขึ้นทุก 2-3นาที นาน 60 - 90 วินาที
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม เมื่อส่วนนําของทารกเคลื่อนต่ำลงมากดกับพื้น เชิงกรานและทวารหนัก
การเปลี่ยนแปลงของทารก ระยะนี้ทารกจะอยู่ในลักษณะกัมมากขึ้น และเคลื่อนผ่านช่องเชิงกรานลงมาตามกลไกการคลอด
การเปลี่ยนแปลงของพื้นเชิงกรานและฝีเย็บ เมื่อศีรษะทารกมีการเคลื่อนต่ำลงมาจะถ่างขยายช่องคลอด ทําให้เกิดการฉีกขาดของเยื่อบุช่องคลอดและมีเลือดออกเล็กน้อย
รู้สึกอยากเบ่งหรืออยากถ่ายอุจจาระ
ฝีเย็บโป่งตึง หรือรูทวารหนักเปิด
มองเห็นส่วนนําของทารก
มีการแตกของน้ําทูนหัว (บางรายอาจแตกก่อนเข้าสู่ระยะที่สองของการคลอด)
มีมูกปนเลือดออกทางช่องคลอดเพิ่มมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
ระยะที่สองของการคลอดผู้คลอดจะมีความเครียดมากขึ้น เนื่องจากผู้คลอดเหนื่อย อ่อนเพลียมีการ รับรู้ความเจ็บปวดรุนแรงมากขึ้น ทําให้ผู้คลอดแยกตัว
การทําคลอดปกติ
การเตรียมคลอด เพื่อให้การช่วยเหลือการคลอดเป็นไปด้วยดี
การเตรียมสถานที่
การเตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการทําคลอด
การเตรียมผู้คลอด เมื่อย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอด
การเตรียมผู้ทําคลอด ในการคลอดที่ไม่เร่งด่วน
การช่วยเหลือการคลอด เมื่อผู้ทําคลอดเตรียมตัวพร้อมแล้ว
การทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
การปูผ้าในกรณีที่ไม่เร่งด่วน ผู้ทําคลอดจะปูผ้าให้ผู้คลอดโดยสวมถุงเท้าด้านใกล้ตัวผู้ทําคลอด ก่อน
การเชียร์เบ่ง ผู้ทําคลอดจะต้องดูแลให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อปากมดลูกเปิดหมดและเบ่งในขณะที่มดลูก มีการหดรัดตัว
การตัดฝีเย็บ (episiotomy) คือ การใช้กรรไกรตัดเนื้อเยื่อบริเวณปากช่องคลอดกว้างขึ้นสะดวก แก่การเคลื่อนผ่านของทารก
การทําคลอดศีรษะ ภายหลังการตัดฝีเย็บ หรือผู้คลอดเบ่งจนศีรษะทารกโผล่ออกมาที่ปากช่อง คลอดมองเห็นเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5 เซ็นติเมตร
การทําคลอดไหล่ ก่อนทําคลอดไหล่ทุกครั้ง ผู้ทําคลอดจะต้องตรวจดูว่ามีสายสะดือพันคอทารก
การทําคลอดไหล่หน้า ผู้ทําคลอดใช้มอื ทั้งสองจับศีรษะทารก ให้บริเวณขมับของทารกทั้งสอง ข้างอยู่ระหว่างฝ่ามือทั้งสอง
การทําคลอดไหล่หลัง เมื่อไหล่หน้าคลอดแล้ว ผู้ทําคลอดจับศีรษะทารกในลักษณะเดียวกับที่ทํา คลอดไหล่หน้า แล้วยกศีรษะทารกขึ้นในทศิ ทาง 45 องศากับแนวดิ่ง
การทําคลอดลําตัว เมื่อไหล่ทั้งสองคลอดออกมาแล้ว ให้ดึงทารกออกมาช้า ๆ ในแนวขนานกับช่องคลอด
การผูกและตัดสายละดือทารก โดยทั่วไปหลังจากทารกคลอดออกมาและได้รับการดูแลใน ระยะแรกเกิดทันทีจนกระทั่งปลอดภัยแล้ว
การผูกสายสะดือ ผู้ทําคลอดใช้ cord tope ผูกสายสะดือทารก 3 ตําแหน่ง
การตัดสายสะดือ ก่อนตัดสายสะดือผู้ทําคลอดจะต้องทําความสะอาดบริเวณที่จะตัดคือ ระหว่างรอยผูกตําแหน่งที่ 2 และ 3 ด้วยน้ํายาฆ่าเชื้อ เช่น alcohol 70%
การส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกในระยะหลังคลอดทันที ระยะเวลาประมาณ 30-45 นาทีหลังคลอดทันที
บทบาทหน้าทขี่องผู้ช่วยผู้ทําคลอด
ช่วยจัดท่าผู้คลอด
เตรียมและดูแลเครื่องมือเครื่องใช้สําหรับการทําคลอดให้เรียบร้อยเช่น ถังผ้าเปื้อน Crib รับ ทารก ไฟตั้ง และเทน้ํายาชนิดต่าง ๆ เป็นต้น
ดูแลให้ผู้คลอดเบ่งอย่างถูกวิธีและให้กําลังใจผู้คลอดในการเบ่งคลอด
วัดสัญญาณชีพผู้คลอดทุก 15 นาที (ยกเวน้ อุณหภูมิ)
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 5 นาที
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ทุก 15 นาที ในรายปกติและทุก 5 นาที ในรายที่ทารกเสี่ยงต่อภาวะขาดออกซิเจน
ดูแลความสขุ สบายทั่วไปของผู้คลอด เช่น ใช้ผ้าชุบน้ําเย็นเช็ดหน้า หรือช่วยนวดบริเวณต้นขาให้ผู้ป่วย
สังเกตอาการของผู้คลอดและบันทึกรายงานให้เรียบร้อย
รายงานหัวหน้าเวรกรณีที่มีภาวะผิดปกติเกิดขึ้น เช่น ผู้คลอดเจ็บปวดมาก ทุรนทุราย มดลูกหดรัดตัวไม่ดี การคลอดไม่ก้าวหน้า ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจน เป็นต้น
บันทึกเวลาการคลอด
เขียนและผูกป้ายข้อมือทารก
วัดความดันโลหิตภายหลังรกคลอดทันที และฉีดยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ได้แก่ methergin หรือ syntocinon
13.นําทารกไปดดูนมมารดาบนเตียงคลอดเพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก 14. ชั่งน้ําหนักทารก
กระบวนการพยาบาลในระยะที่สองของการคลอด
การหดรัดตวั ของมดลูก โดยประเมินทุก 5 นาทหี รือทกุ ครั้งที่มดลูกมกี ารหดรัดตัวและคลายตัว ปกติมดลูกจะมีการหดรัดตัว ทุก 2-3 นาที นาน 60-90 วนิ าที ความรุนแรงระดับมาก
การเคลื่อนต่ำของส่วนนํา โดยการตรวจภายในเพื่อประเมินระดับส่วนนําของทารก การสังเกต บริเวณผีเย็บ
แรงเบ่ง โดยการประเมินลักษณะการเบ่งของผู้คลอดว่าถูกต้องหรือไม่ เบ่งแล้วการคลอดก้าวหน้า หรือไม่
กระเพาะปัสสาวะ โดยประเมินว่ามีกระเพาะปัสสาวะเต็มหรือไม่ เนื่องจากการมีกระเพาะปัสสาวะ เต็มเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทําให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดีและขัดขวางการเคลื่อนต่ำของส่วนนําทารก
สภาวะของทารกในครรภ์ โดยการฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที เป็นอย่างน้อย ในรายที่มีภาวะ ผิดปกติ ต้องฟังทุก 5 นาที
สัญญาณชพี โดยการจับชีพจร นับการหายใจ และวัดความดันโลหิตทุก 15 นาที เพื่อดูว่าปกติ หรือไม่
สภาวะร่างกายของผู้คลอด โดยประเมินว่า ผู้คลอดมีภาวะอ่อนเพลีย หมดแรง ขาดน้ํา ขาดอาหารหรือไม่
สภาวะจิตใจของผู้คลอด ได้แก่การประเมินความรู้สึกวิตกกกังวล และความหวาดกลัวของ ผู้คลอดต่อการคลอด ซึ่งอาจมีผลทําให้มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ