Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
การรับใหม่ผู้คลอด
การซักประวัติ
1.1 ข้อมูลทั่วไป ชื่อ-สกุล อายุ
1.2 อาการสําคัญที่มาโรงพยาบาล อาการเจ็บครรภ์ควรถามถึงลักษณะและเวลาที่เริ่มตันเจ็บครรภ์
1.3 ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน จํานวนครั้งของการตั้งครรภ์ วันแรกของการมีประจําเดือนครั้งสุดท้าย (LMP)
1.4 ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต ควรถามประวัติการแท้ง การล้วงรกและการขูดมดลูก
1.5 ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน โดยเฉพาะการเจ็บป่วยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์และการคลอด เช่น โรคเบาหวานอาจทําให้ทารกตัวโตคลอดยาก
1.6 ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว การเจ็บป่วยที่สามารถถ่ายทอดได้ทางพันธุกรม เช่น โรคเลือด ตาบอดสี ซึ่งอาจพบทารกมีกวะแทรกซ้อนเหล่านี้ได้
การตรวจร่างกาย
2.1 ตรวจร่างกายทั่วไป
ชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง
ตรวจสัญญาณชีพ
ตรวจลักษณะร่างกายทั่ว ๆ ไป
ตรวจร่างกายตามระบบต่าง ๆ ดังนี้ ระบบประสาท ระบบหัวใจและการไหลเวียนของเลือด ระบบการหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธุ์ ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ ระบบผิวหนังและเนื้อเยื่อ
2.2 การตรวจร่างกายเฉพาะที่
ตรวจครรภ์ ประกอบด้วยการ ดู คลํา และการฟัง
การดู ตรวจดูลักษณะทั่วไปของหน้าท้อง
การคลําใช้การลําตามLeopoldhandgripทั้ง4ท่า
ฟังเสียงอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก โดยวางมือบริเวณยอดมดลูก
ตรวจความก้าวหน้าของการคลอดภายใน
นิยมตรวจทางช่องคลอด (Per vagina)
ข้อบ่งชี้ในการตรวจทางซ่องคลอด (Per vagina)
เมื่อรับใหม่ผู้คลอด
ตรวจดูความก้าวหน้าของการคลอด
สงสัยทารกท่าผิดปกติ
ก่อนการสวนอุจจาระ
ถุงน้ําคร่ำแตกทันที เพื่อประเมินภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
เจ็บครรภ์ถี่และรุนแรง
ผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่งหรืออยากถ่ายอุจจาระ
ภายหลังการเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ
ข้อห้ามในการตรวจทางช่องคลอด (Per vagina) ที่สำคัญ
มีเลือดออกทางช่องคลอด
ครรภ์ยังไม่ครบกําหนด
มีการอักเสบบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
การPVในแตล่ะครั้งจะประเมินสิ่งต่อไปนี้
การเปิดขยายของปกมดลูก (dilatation of cervix)
ความบางของปากมดลูก (effacement of cervix)
สภาพถุงน้ําทูนหัว (membrane)
ระดับของส่วนนํา (station)
ลักษณะของส่วนนํา ตรวจดูว่าส่วนนําของทารกเป็นศีรษะ (cephalic) หรือก้น(breech)
ตําแหน่งของปากมดลูก
ขนาดของเชิงกราน
สภาพฝีเย็บ ควรดูว่าฝีเย็บมีความยืดหยุ่น หรือตึงตัวมากน้อย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
(Laboratory test)
hematocrit
blood type
Rh test
VDRL
HBsAg
การเตรียมผู้คลอด
3.1 การเตรียมด้านร่างกาย
การเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
การสวนอุจจาระ
การทำความสะอาดร่างกาย
3.2 การเตรียมด้านจิตใจ
แสดงพฤติกรรมต้อนรับผู้คลอดด้วยสีหน้าที่ยิ้มแย้ม
แสดงพฤตกิรรมยอมรับการแสดงออกของผู้คลอด
ปฐมนิเทศผู้คลอดเกี่ยวกับสถานที่
ภายหลังการประเมินสภาพด้วยการซักประวัติและตรวจร่างกายแล้ว
ปฏิบัติการพยาบาลดว้ยความนุ่มนวล
หลังจากเตรียมผู้คลอดเพอื่การคลอดแล้ว
ควรอนุญาตให้สามีหรือญาติเข้ามาช่วยบีบนวด ให้กําลังใจ
การบันทึกรายงานการรับใหม่
เมื่อรับใหมผู้คลอดหลังจากประเมินสภาพผู้คลอดและให้การพยาบาล เมื่อรับใหม่แล้วควรลงบันทึกการพยาบาล (nurses' note)
การเฝ้าคลอด
1.การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
1.1การหดรัดตัวของมดลูก
ระยะหดรัดตัว (Duration)
ระยะพัก (Resting stage)
ระยะห่างในการหดรัดตัวของมดลูก (Interval)
ความถี่ของการหดรัดตัวของมดลูก (Frequency)
ความแรงในการหดรัดตัวของมดลูก
(Intensity หรือ Severity of uterine contraction)
1.2 การสั้นบางและการเปิดขยายของปากมดลูก
การสั้นบางของปากมดลูก (Effacement) หมายถึง การที่คอมดลกู (Cervical canal) สั้นลง
การเปิดขยายของปากมดลูก (Dilatation) หมายถึง การเปิดกวา้ งของปากมดลูก (Cervical os)
1.3 การเคลื่อนต่ำของส่วนนํา โดยประเมินจาก Station คือ ส่วนที่ต่ำที่สุดของส่วนนําเปรียบเทียนกับ ระดับกระดูก Ischial spine
การเฝ้าคลอดโดยใช้ WHO Partograph
การประเมินสภาพ
สภาพของทารกในครรภ์(Fetal conditions)
อัตราการเต้นของหัวใจทารก (FHR)
ลักษณะของถุงน้ําและน้ำคร่ำ (membranesandamnioticfluidorliquoramni)
การเกยกนัของกระดูกกะโหลกศีรษะทารก(moldingoffetalskullbone)
ด้านความก้าวหน้าของการคลอด (progression of labor)
การเปิดขยายของปกมดลูกเป็นส่วนสําคัญที่สุดโดยในระยะlatentที่ปกติจะใช้เวลาประมาณไม่ ควรเกิน 8 ชั่วโมง
การเคลื่อนต่ำของส่วนนํา เนื่องจาก WHO Partograph ใช้ประเมินผู้คลอดในระยะ คลอดเฉพาะรายทีปกติเท่านั้น
การหดรดัตัวของมดลูก การประเมินความก้าวหนา้ของการคลอดจากการหดรัดตัวของมดลูก โดยทั่วไปจะ ประเมินทุก 1/2 ชั่วโมง ทั้งในระยะ latent และ active อาจประเมินถี่ขึ้นเป็นทุก15 นาที
ด้านมารดา (maternal conditions)
การประเมินสัญญาณชีพ
การตรวจปัสสาวะ
ยาและสารน้ําที่ให้
สรุปหลักสําคัญของ WHO Partograph
ระยะเฉื่อย (latent phase) ต้องไม่เกิน 8 ชม.เริ่มบันทึก
ระยะเร่ง (active phase) เริ่มตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 3ชม.ขึ้นไป
พื้นที่ส่งตัว (referral Zone) หรือ พื้นที่ที่อยู่ระหว่างเส้น alert line กับเส้น action line
ความผิดปกติของ WHO Partograph
ระยะเฉื่อยยาวนาน (prolonged latent phase): WHO ถือเอาระยะเฉื่อยที่นานมากกว่า 8 ชั่วโมง ตั้งแต่เริ่มบันทึก
เส้นกราฟตัดผ่านเสน้ alert line ไปทางขวาและอยู่ระหว่างเส้น alert และ action line (referral Zone warning Zone) แสดงถึงช่วงที่ต้องมีการส่งต่อ หรือใหก้ ารดูแลอย่างใกล้ชิด
การพยาบาลระยะที่1ของการคลอด
การพยาบาลด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล
การรับประทานอาหาร เนื่องจากในระยะ latent การดูดซึมและการย่อยอาหารจะช้าลงจึงควรดูแลให้ผู้คลอดรับประทานอาหารอ่อน
การขับถ่ายปัสสาวะ เมื่อส่วนนําของทารกเคลื่อนต่ำลงมากดกระเพาะปัสสาวะมากข้ึน ผู้คลอดจะถ่ายปัสสาวะบ่อยคร้ังแต่ออกไม่หมด
การขับถ่ายอุจจาระ หลังจากสวนอุจจาระเมื่อรับใหม่แล้ว 12-24 ชั่วโมง
การพักผ่อนและการนอนหลับ ดูแลให้ผู้คลอดได้พักผ่อนและนอนหลับในท่าที่จะสามารถทําได้
ท่าของผู้คลอดและการทํากิจกรรม เช่น ท่ายืน การเดิน นัางตัวตรง กึ่งนั่งกึ่งนอน นอนตะแคง นั่งขัดสมาธิ
2.การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด
ให้ความรู้เกี่ยวกับการคลอดโดยบอกให้ทราบว่าจะมีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นบ้าง
การทบทวนเทคนิคการผ่อนคลายความเจ็บปวดที่ผู้คลอดได้รับจากการเตรียมเพื่อการคลอดในระยะตั้งครรภ์
ประคบด้วยความร้อนและความเย็นขณะที่มีการเจ็บครรภก์ารประคบดว้ยความเย็นบริเวณกระดูก sacrum
การบรรเทาปวดด้วยน้ํา โดยการให้ผู้คลอดอาบน้ําหรือนอนแซ่ในอ่างอาบน้ําอุ่น ๆ จะทําไงผู้คลอดรู้สึกผ่อนคลายและบรรเทาความเจ็บปวดได้
3.การพยาบาลด้านจิตสังคม
ในระยะlatentที่ผู้คลอดรู้สึกเจ็บครรภ์เล็กน้อย
ในระยะ active เมื่อมีความเจ็บปวดมากขึ้น ผู้คลอดจะมีความตึงเครียดเพิ่มขึ้น
เมื่อความก้าวหน้าของการคลอดมาถึงระยะ transitional ผู้คลอดจะมีความเจ็บปวดมากยิ่งขึ้นอ่อนล้าอยากพักผ่อน
การย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอด
ครรภ์แรก ควรย้ายเมื่อปากมลลูกเปิดหมด ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงมาอยู่บนพื้นเชิงกราน
ครรภ์หลัง ควรยา้ ยเมื่อปากมดลูกเปิดประมาณ 8 เชนลิเมตร
ในผู้คลอดที่มีประวัติคลอดเร็ว (Precipitate labor) ควรย้ายเข้าห้องคลอดเมื่อปากมดลูกเปิด ประมาณ 5-6 เชนติมตร และมดลูกหดรัดตัวรุนแรงถี่มาก