Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่11 - Coggle Diagram
บทที่11
ความผิดปกติของเกล็ดเลือดและการแข็งตัวของเลือด
ความ ผิด ปกติ ของเกล็ด เลือด
Thrombocytopenia
ภาวะที่มีเกล็ดเลือดต่ำกว่า 150,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
การสร้างเกล็ดเลือดลดลง (Decreased platelet production) จากขาด VitaminB12 การได้รับรังสีมากเกินไป ภาวะ Aplastic anemia หรือมะเร็งของไขกระดูก
เกล็ดเลือดมีอายุสั้นกว่าปกติ (Decreased platelet survival) จากการใส่ลิ้นหัวใจเทียม การได้รับยา
ความผิด ปกติ ที่ ม้าม (Splenic sequestration, pooling) ได้แก่ ม้ามโต (Splenomegaly) ภาวะตัวเย็นเกิน (Hypothermia)
การทำให้เกล็ดเลือดเจือจางลง (Platelet dilution) เกิดขึ้นจากการได้รับเลือดในปริมาณมากๆ
Thrombocythemia หรือ thrombocytosis
ภาวะที่มีเกล็ดเลือดมากเกิน
400,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
Primary thrombocytosis จะพบความผิดปกติของ Megakaryocytes ในไขกระดูกเพิ่มขึ้น อาจเพิ่มขึ้นถึง 15 เท่าจากที่เคยผลิตและมีม้ามโต มีเกล็ดเลือดมากกว่า 600,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร
Secondary thrombocytosis มีการสร้างเกล็ดเลือดออกมาเพิ่มมากขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
โรคเลือดไหลไม่หยุด (Hemophilia)
อาการและอาการแสดง
เลือดไหลนานและห้ามเลือดยากเมื่อสูญเสียเลือด
เนื่องจากเลือดไม่แข็งตัว
Von Willebrand Disease
เป็นโรคทางพันธุกรรมจัดเป็น Autosomal dominant
disorder เกิดจากการขาด von Willebrand factor ที่ทำงานร่วมกับ Factor VIII และเกล็ดเลือด พบเลือดกำเดาไหล (Epistaxis) เลือดออกตามเยื่อบุ (Mucosal bleeding)
Vitamin K Deficiency Bleeding in infancy
อาการและอาการแสดง
ถ่ายดำเนื่องจากมีเลือดเก่าปนอยู่ (Melena) เลือดออกจากสายสะดือตลอดเวลา
ภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจาย (Disseminated Intravascular coagulation, DIC)
อาการและอาการแสดง
จะพบจุดเลือดออกและจ้ำเลือดตามผิวหนังและเยื่อบุ เกิดเป็นจุดเลือดออกขนาดเล็กในชั้นผิวหนัง
หรือเยื่อบุ (Petechiae) เกิดรอยฟกช้ำได้ง่าย
กลไกการห้ามเลือด (Hemostasis)
Vasoconstriction
เกิดการหดตัวของหลอดเลือดโดยอัตโนมัติ (Reflex vasoconstriction) ซึ่งเป็นผลจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อเรียบของผนังหลอดเลือดชั้นนอกสุด (Tunica adventitia) และชั้นกลาง (Tunica media) ทำให้บาดแผลมีขนาดเล็กลง ช่วยชะลอความเร็วของเลือด (Blood flow) ทำให้เลือดไหลออกช้าลง
Primary hemostasis
Platelet adhesion เป็นขั้นตอนที่เกล็ดเลือดเข้ามายึดเกาะกับ Collagen และvon Willebrand factor
Platelet activation ทําหน้าที่ในการห้ามเลือด
Platelet aggregation ทําให้เกิดการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือดเกิดเป็น Platelet plug มาอุด
บริเวณที่มีการฉีกขาดของหลอดเลือด
Secondary hemostasis
ทำให้ลิ่มเลือดมีความแข็งแรงมากขึ้น และห้ามเลือดได้ดีกว่า Platelet plug
Fibrinolysis ระยะของการสลายลิ่มเลือดโดยกำจัดเส้นใย Fibrin แล้วขับออกจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะ
ความผิดปกติของเม็ดเลือดแดง
ภาวะโลหิตจางจากการสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง
Aplastic anemia
เกิ ด จากสเต็มเซลล์หรือเซลล์ต้กำเนิด (Stem cell) มีความผิดปกติไม่สามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดได้ตามปกติส่งผลให้ไขกระดูกมีปริมาณเนื้อเยื่อที่สร้างเม็ดเลือด (Hematopoietic tissue) ลดลง
(Anemia of chronic renal
failure)
อาการและอาการแสดง
ระดับของ Hematocrit ≤ 20%
จะมีอาการซีด อ่อนเพลีย ปวด เวียนศีรษะ เนื่องจากเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
การตรวจวินิจฉัยโรค
CBC
RBCs
มีขนาดใหญ่ และรูปร่างผิดปกต
Vitamin-deficiency anemia
โลหิตจางจากการขาดวิตามิน บี12
อาการและอาการแสดง
ชัดเจนเมื่อมีภาวะซีดมาก ๆ Hb จะลดลงถึง 7-8 กรัม/เดซิลิตร มีอาการอjอนเพลีย หัวใจเตhนเร็ว
การตรวจวินิจฉัยโรค
Serum vitamin B12 ซึ่งจะต่ำ
โลหิตจางจากการขาดโฟเลท
อาการและอาการแสดงจะคล้ายกับการขาดสารอาหาร
แต่ไม้มีอาการทางประสาท
(Iron-deficiency anemia, IDA
อาการและอาการแสดง
ระดับฮีโมโกลบินลดลง มีภาวะซีด เหนื่อยง่ายเวลา
ออกแรง (Dyspnea on exertion) อ่อนเพลีย หงุดหงิดง่าย วิงเวียน
โลหิตจางจากการทําลายเม็ดเลือดแดงมากขึ้นในร่างกาย
ธาลัสซีเมีย (Thalassemia)
ชนิดที่มีความรุนแรงสูง เด็กอาจเสียชีวิตในครรภ์หรือหลังคลอดออกมาได้ไม่
นาน โดยทารกจะบวมน้ำ ซีดมาก ท้องโตจากการที่ตับและม้ามโต และหัวใจวาย
ชนิดที่มีความรุนแรง ผิวซีดหรือเหลืองคล้ายเป็นดีซ่าน ท้องโตจากการที่ตับและม้ามโต
ชนิดที่มีความรุนแรงน้อยถึงปานกลาง เด็กจะมีอาการซีด ซึ่งอาจต้องได้้รับ
การให้เลือดเป็นครั้งคราว และรู้สึกเหนื่อยง่าย
โลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงรูปเคียว (Sickle cell anemia)
อาการและอาการแสดง
ปวดรุนแรงตามอวัยวะต่าง ๆ
ทั่วร่างกาย เป็น ๆ หาย ๆ ซึ่งเกิดจากมีการอุดตันของหลอดเลือด
โลหิตจางจากภาวะขาดเอนไซม์จีซิกพีดี
มีปัสสาวะมีสีดำคล้ายสีน้ำปลา
ภาวะเม็ดเลือดแดงป้องพันธุกรรม
ภาวะโลหิตจางจากการเสียเลือด
การเสียเลือด 10% (~ 500 ml) มักไมมีอาการรุนแรงนอกจากเป็นลม (Vasovagal syncope)
การเสียเลือด 20 % (~ 1,000 ml) อาการสำคัญคือหัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่า
การเสียเลือด 30% (~ 1,500 ml) พบหัวใจเต้นเร็วผิดปกติมากขึ้น ความดันโลหิตลดลง
การเสียเลือด 40% (~ 2,000 ml) พบคาแรงดันเลือดดำกลาง (Central venous pressure, CVP) ค่าปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจต่อหนึ่งนาที (Cardiac output, CO) และ ค่าแรงดันเลือดแดง (Arterial blood pressure) ลดต่ำลงกว่ปกติ
การเสียเลือด 50% (~ 2,500 ml) เกิดภาวะระบบไหลเวียนล้มเหลว (Shock) และเสียชีวิตได้
ความผิดปกติของเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือลูคีเมีย (Leukemia)
อาการและอาการแสดง
จะทำให้มีอาการของภาวะโลหิตจาง ทำให้ติดเชื้อได้ง่ายขึ้นะเลือดออกง่ายกว่าปกติ อาจพบจุดเลือดออกหรือจ้ำเลือดตามตัว
การตรวจวินิจฉัย
CBC
พบค่าฮีโมโกลบินต่ำ เกล็ดเลือดต่ำ
จำนวนเม็ดเลือดขาวสูงหรือต่ำกว่าปกติก็ได้ และอาจพบเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนได้
การตรวจไขกระดูก เพื่อนับจำนวนเซลล์ตัวอ่อน เป็นการตรวจเพื่อยืนยันการวินิจฉัย
การสงตรวจพิเศษเพื่อแยกชนิดของเซลล์ Myeloid และ Lymphoid