Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดา-ทารกและผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดา-ทารกและผดุงครรภ์
4.5 การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
1.การรับผู้คลอดใหม่
1.1.การซักประวิติ
ข้อมูลทั่วไป
อาการสำคัญ
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบันและในอดีต
ประวัติครอบครัว
1.2การตรวจร่างกาย
1.การตรวจร่างกายทั่วไป
ตรวจร่างกายทั่วไป
ชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง
ตรวจระบบต่างๆ
ตรวจสัญญาณชีพ
2.การตรวจร่างกายเฉพาะที่
ตรวจครรภ์ ดู คลำ ฟัง
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
1.3 การเตรียมผู้คลอด
1.การเตรียมด้านร่างกาย
การเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธ์
การสวนอุจจาระ
2.การเตรียมด้านจิตใจ
ประเมินสภาพ ปฐมนิเทศ ผู้คลอด
1.4 การบันทึกรายงานการรับใหม่
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดและวางแผนให้การพยาบาล
2.การเฝ้าคลอด และการเตรียมสำหรับคลอด
2.1การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก
ระยะหดรัดตัว
ระยะพัก
ระยะห่างในการหอรัดตัว
การสั้นบางและการเปิดขยายของปากมดลูก
การสั้นปากของปากมดลูก
การเปิดขยายของปากมดลูก
การเคลื่่อนต่ำของส่วนนำ
ประเมินจาก Station
2.2 การเฝ้าคลอดโดยใช้ WHO Partograph
1.สภาพของทารกในครรภ์
2.ความก้าวหน้าของการคลอด
3.การให้ยาและการรักษา
4.สภาพของมารดา
2.3 การพยาบาลระยะที่ 1 ของการคลอด
1.การพยาบาลด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล
2.การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด
3.การพยาบาลด้านจิตสังคม
2.4การย้ายผู้คลอดเข้าห้องคลอด
การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในระยะที่ 1ของการคลอด
4.6 การดูแลผู้คลอดและทารกในครรภ์ในระยะที่ 2 , 3 ของการคลอด
การทำคลอดทารกปกติ
การเตรียมการคลอด และการช่วยเหลือการคลอด
การเตรียมสำหรับการคลอด
สถานที่และอุปกรณ์เครื่องใช้ในการทำคลอด
ผู้ทำคลอด
ผู้คลอด
การลอกตัวของรก การทำคลอดรก และการตรวจรก
2.การพยาบาลในระยะที่ 3 ของการคลอด
การคลอดรก
ระยะรกลอกตัวออกจากผนัง
ชนิดการลอกตัว
Schultze' s method
Matthrws Duncan's method
การคเลื่อนตัวของรกเข้าสู่มดลูกส่วนล่าง
การทำคลอดรก
Modified crede' maneuver.
Brandt - Andrews maneuver.
Controlled cord traction.
การควบคุมการตกเลือด
อาการแสดงการลอกตัวของรก
1.Uterine sign.
2.Vulva sign
3.Cord sign
การตรวจรก
รกครบหรือไม่
ตรวจลักษณะของรก
ดู membrane ทั้งสองชั้น
amnion ลักษณะใสเป็นมัน
chorion ลักษณะเปื่อย ยุ่ย
ลักษณะปมสายสะดือ
การเกาะของสายสะดือ
การฉีกขาด การตัดและซ่อมแซมฝีเย็บ
ข้อบ่งชี้ในการตัดฝีเย็บ
-ผู้คลอดครรภ์แรก
-ผู้คลอดครรภ์หลังที่คอยได้รับการตัดฝีเย็บมาแล้ว
-ทารกมีขนาดใหญ่
รายที่คลอดก่อนกำหนด
รายที่ต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการในการช้วยคลอด
ชนิดของฝีเย็บ
การตัดตามแนวกลางของฝีเย็บ Median Episitome
การตัดแบบเฉียง Medio - lateral Episiotomy
1.การพยาบาลในระยะที่ 2 ของการคลอด
1.1การเปลี่ยนแปลงของแรงผลักดันทารก
1.2การเปลี่ยนแปลงของทารก
1.3การเปลี่ยนแปลงของพื้นเชิงกรานและฝีเย็บ
ตรวจการเคลื่อนต่ำของทารก
Pawlik's Grip.
Bilateral Inquinal Grip.
4.7 การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่ 4 ของการคลอด
การพยาบาลผู้คลอดหลังรกคลอดจนถึงระยะ 2 ชั่วโมงหลังคลอด
การฉีดขาดและการเย็บซ่อมฝีเย็บ
1.First degree
2.Second degree.
3.third degree.
4.Fourth degree.
การพยาบาล
ประเมินสภาวะทั่วไปของมารดา
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอดและแผลฝีเย็บ
ประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
การย้ายไปหน่วงหลังคลอด
เลือดที่ออกจากช่องคลอดภายใน 2 ชม.ต้องไม่เกิน 100cc.
มดลูกหดรัดตัวดี
แผลฝีเย็บไม่บวม ไม่มี hematoma.
มารดาถ่ายปัสสาวะก่อนย้าย
ทารกอาการทั่วไปดี ไม่มีเขียว ไม่มีเลือดออกจากสะดือ
4.8 การประเมินทารกแรกเกิดทันที
ประเมิน APGAR score
A Appearance ดูสีผิว เยื่อบุตา เยื่อบุปาก ริมฝีปาก สีที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
P Puse or heart rate ชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจ
G Grimace or reflex ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
A Activity or muscle tone การเคลื่อนไหวหรือการตึงตัวของกล้ามเนื้อ
R Respiration การหายใจ
คะแนนของแบบประเมิน Apgar
Apgar score 8-10 คะแนน เท่ากับ ปกติดี Good condition.
Apgar score 4-7 คะแนน เท่ากับ มีความเสี่ยงต่ออันตราย Fair condition
Apgar score 0-3 คะแนน เท่ากับ อยู่ในภาวะฉุกเฉินที่ต้องได้รับกาารดูแลเร่วด่วน Resuscitation.
จำแนกทารกแรกเกิดโดยใช้อายุครรภ์เป็นเกณฑ์
ทารกคลอดก่อนกำหนด Preterm infant อายุครรภ์ <37 สัปดาห์
ทารกคลอดครบกำหนด Term infant. อายุครรภ์ 37-42 สัปดาห์
ทารกคลอดเกินกำหนด Post term infant. อายุครรภ์>42 สัปดาห์
จำแนกทารกแรกเกิดโดยใช้น้ำหนักทารกเป็นเกณฑ์
ทารกน้ำหนักน้อย น้อยกว่า 2500 กรัม
ทารกน้ำหนักปกติ ตั้งแต่ 2500 ขึ้นไป