Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่หนึ่งถึงสี่ของการคลอด, - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่หนึ่งถึงสี่ของการคลอด
การรับใหม่ผู้คลอด
การซักประวัติ
1.1 ข้อมูลทั่วไป
1.2อาการสําคัญที่มาโรงพยาบาล
1.3 ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
1.4 ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
1.5 ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตและปัจจุบัน
1.6 ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
การตรวจร่างกาย
2.1 ตรวจร่างกายทั่วไป การตรวจร่างกายที่สำคัญเกี่ยวกับผู้คลอด คือ
2.1.1 ชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง และการสังเกตความผิดปกติของโครงสร้างกระดูก
2.1.2 ตรวจสัญญาณชีพ
2.1.3 ตรวจลักษณะร่างกายทั่ว ๆ ไป (general appearance)
2.1.4 ตรวจร่างกายตามระบบต่าง ๆ ดังนี้
-ระบบประสาท
-ระบบหัวใจและการไหลเวียนของเลือด
-ระบบการหายใจ
-ระบบทางเดินอาหาร
-ระบบทางเดินปัสสาวะ
-ระบบสืบพันธุ์
-ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
-ระบบผิวหนังและเนื้อเยื่อ
2.2 การตรวจร่างกายเฉพาะที่ ได้แก่ การตรวจครรภ์และการตรวจความก้าวหน้าของการคลอดภายใน
2.2.1 ตรวจครรภ์ ประกอบด้วยการ ดู คลํา และการฟัง (รายละเอียดในการพยาบาลหญิงระยะตั้งครรภ์)
2.2.2 ตรวจความก้าวหน้าของการคลอดภายใน
ข้อบ่งชี้ในการตรวจทางซ่องคลอด (Per vagina)
1) เมื่อรับใหม่ผู้คลอดที่ไม่มีข้อห้ามทุกราย เพื่อประเมินว่า ผู้คลอดอยู่ในระยะใดของการคลอด
2) ตรวจดูความก้าวหน้าของการคลอด เมื่อถึงเวลาอันเหมาะสมในการตรวจ ตามระยะเวลาที่กําหนด
3) สงสัยทารกท่าผิดปกติ
4) ก่อนการสวนอุจจาระ
5) ถุงน้ําคร่ำแตกทันที เพื่อประเมินภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
6) เจ็บครรภ์ถี่และรุนแรง เมื่อมีอาการแสดงท่ีบง่ชี้ว่ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเช่นมดลูกหดรัดตัวถี่นาน และรุนแรงมากขึ้น มี bloody sow ออกมากขึ้น
7) ผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่งหรืออยากถ่ายอุจจาระ
8) ภายหลังการเย็บซ่อมแซมฝีเย็บ
ข้อห้ามในการตรวจทางช่องคลอด (Per vagina) ที่สำคัญ
1) มีเลือดออกทางช่องคลอด
2) ครรภ์ยังไม่ครบกําหนด
3) มีการอักเสบบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้หญิงตั้งครรภ์เจ็บปวดมากหรือมีเลือดออกง่าย
การPVในแตล่ะครั้งจะประเมินสิ่งต่อไปนี้
1) การเปิดขยายของปกมดลูก (dilatation of cervix) ประเมินความกว้างเป็นเซนติเมตร
2) ความบางของปากมดลูก (effacement of cervix) ประเมินการบางเป็นร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์
3) สภาพถุงน้ําทูนหัว (membrane)
4) ระดับของส่วนนํา (station)
2.3 ตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory test)
หญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ ส่วนใหญ่จะได้รับการตรวจ hematocrit, blood type, Rh test, VDRL, HBsAg ประมาณ 1-2 ครั้งก่อนคลอดเมื่อรับใหม่ในรายที่ปกติอาจ ไม่จําเป็นต้องตรวจอีก
การเฝ้าคลอด(Attend)
เพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงและวางแผนให้ การดูแลได้อย่างเหมาะสมในการเฝ้าคลอดจะต้องปฏิบัติดังนี้
1.การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
1.1การหดรัดตัวของมดลูกโดยปกติการหดรัดตัวของมดลูกจะเกิดเป็นระยะ ๆและเป็นจังหวะสม่ำเสมอมีทั้งระยะเจ็บและระยะพักไม่ได้หดรัดตัวตลอดเวลาดังนี้
ระยะหดรัดตัว (Duration) คือระยะเวลาที่มดลูกหดรัดตัวจนกระทั่งเริ่มคลายตัว แบ่งเป็น
ก. Increment เป็นระยะที่มดลูกเริ่มหดรัดตัว
ข. Acme เป็นระยะที่มดลูกหดรัดตัวเต็มที่
ค.Decrementเป็นระยะที่มดลูกเริ่มคลายตัว
ระยะพัก (Resting stage) คือระยะที่มดลูกคลายตัวก่อนที่จะมีการหดรัดตัวครั้งต่อไป ระยะนี้มี ความสําคัญมาก เพราะทําให้ทารกได้รับออกชิเจนตามปกติ
-ระยะห่างในการหดรัดตัวของมดลูก (Interval ) คือระยะเวลาที่มดลูกเริ่มหดรัดตัวครั้งหนึ่งจน กระทั่งมดลูกเริ่มหดรัดตัวอีกครั้งหนึ่ง ระยะ Interval จะมากน้อยขึ้นอยู่กับระยะของการคลอด
ความถี่ของการหดรัดตัวของมดลูก (Frequency) คือ จํานวนครั้งของการหดรัดตัวของมดลูกในช่วงเวลาหนึ่ง
ความแรงในการหดรัดตัวของมดลูก (Intensity หรือ Severity of uterine contraction) ซึ่งมี ระดับแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับความก้าวหน้าของการคลอด แบ่งเป็น
ก. Mild หรือ +1 มดลูกหดรดั ตัวน้อย ขณะท่ีมดลูกหดรัดตัวสามารถคลําส่วนต่าง ๆ ของทารกได้ชัดเจน
ข. Moderate หรือ +2 มดลูกหดรัดตัวแข็งตามปกติ ขณะที่มดลูกหดรัดตัวสามารถคลําส่วน ของทารกได้แต่ไม่ชัดเจนเหมือน Mild
ค.Strongหรอื +3มดลูกหดรัดตัวแข็งมากไม่สามารถคลําส่วนต่างๆของทารกได้มักพบในระยะปลายที่ 1 และต้นระยะที่ 2 ของการคลอด
ง. Tetanic หรือ+4มดลูกหดรัดตัวแข็งมากผิดปกติไม่สามารถคลําส่วนต่างๆของทารกได้มดลกูหดรัดตัวนานจนไม่มีเวลาพัก มักพบในรายท่ีมีการคลอดติดขัดรกลอกตัวก่อนเวลา
2.2 การสั้นบางและการเปิดขยายของปากมดลูก
การสั้นบางของปากมดลูก (Effacement)
การเปิดขยายของปากมดลูก (Dilatation)
2.3 การเคลื่อนต่ำของส่วนนํา
การเฝ้าคลอดโดยใช้ WHO Partograph
การพยาบาลในระยะนี้เป็นการดูแลที่ต้องครอบคลุม 3ด้าน คือ ดา้ นผู้คลอด ที่ต้องดูแลทั้งร่างกายและจิต สังคม ด้านทารก และด้านความก้าวหนของการคลอด
วัตถุประสงค์ที่สําคัญคือ
-หาความก้าวหน้าของการเจ็บครรภ์ที่ผิดปกติได้ก่อน และส่งต่อได้เหมาะสม
-ช่วยให้การคลอดดําเนินต่อไปโดยการเร่งคลอด
-การทําให้การเจ็บครรภ์คลอดสิ้นสุดลง
ข้อยกเว้นในการใช้ WHO Partograph
1) premature labor pain ที่มีอายุครรภน้อยกว่า 34 สัปดาห์
2)เจ็บครรภ์ใกล้จะคลอดที่ปากมดลูกเปิดยาว 9-10เซนติเมตร
3) ไม่ต้องการให้มีการเจ็บครรภ์คลอด เช่น การนัดผ่าตัดคลอด
4) มีความจําเป็นเร่งด่วนสําหรับการผ่าตัดคลอดฉุกเฉิน ภายใน 1 ชั่วโมงหลังรับไว้
5) มีความเสี่ยงสูง (high risk) ต่อการเจ็บครรภ์คลอดและการรักษา
การใช้WHOPartographใช้กับผู้คลอดที่เข้าสู่ระยะที่1ของการคลอดหรือรายที่ถุงน้ําแตกหรือรายที่ต้องการ ชักนําให้เกิดการคลอดโดยต้องมีการเจ็บครรภ์สม่ำเสมอ
สภาพของทารกในครรภ์ (fetal conditions)
ความก้าวหน้าของการคลอด (progress of labor)
การให้ยาและการรักษา (drugs and treatments): Induction , Augmentation
4.สภาพของมารดา (maternal conditions): vital signs
การเตรียมผู้คลอด
การเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ การเตรียมบริเวณวัยวะสืบพันธุ์เป็นการทําความสะอาดอวัยวะ สืบพันธุ์ภายนอกซึ่งประกอบดว้ยการโกนขน(shave)บริเวณหัวเหน่ารอบปกช่องคลอดฝีเยบ็และรอบๆทวาร หนัก
การสวนอุจจาระ การสวนอุจจาระ เพื่อช่วยให้ลําไส้ใหญ่ว่าง ส่งผลให้มีเนื้อที่ภายในช่องเชิงกรานมาก ขึ้น
ข้อห้ามในการสวนอุจจาระ
1) มีประวัติเลือดออกทางช่องคลอด เพราะจะกระตุ้นให้มีเลือดออกมากขึ้น
2) เมื่อใกล้คลอดครรภ์แรกปกมดลูกเปิด 8 เซนติเมตรขึ้นไปและศีรษะทารกลงมาอยู่ต่ำกว่าระดับ +2 ครรภ์หลังเปิด6เชนติเมตรขึ้นไปเพราะอาจคลอดระหว่างการถ่ายอุจจาระ
3) มีถุงน้ําแตกและส่วนนํายังไม่ลงสู่ช่องเชิงกราน เพราะอาจทําให้เกิดสายสะดือพลัดต่ำขณะเบ่งถ่ายอุจจาระ
4) ครรภ์ไม่ครบกําหนดคลอด อายุครรภ์น้อยกว่า
37 สัปดาห์เพราะจะเป็นการกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวมากขึ้นเกิดการคลอดก่อนกําหนด
5) มีความผิดปกติของหลอดเลือดและหัวใจ เช่น ภาวะความดันโลหิตสูง หรือโรคหัวใจ เพราะการเบ่งถ่าย อุจจาระจะทําให้ความดันโลหิตสูงมากขึ้น อาการของโรคหัวใจรุนแรงขึ้น
6) ผู้คลอดที่เป็นริดสีดวงทวารระยะอักเสบ จะเป็นการทําให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อและผู้คลอดจะ เจ็บปวดมาก
1 more item...
3.การทําความสะอาดร่างกายเมื่อถ่ายอุจจาระแล้วควรดูแลให้ทำความสะอาดร่างกายทุกส่วน
4.การพยาบาลด้านจิตสังคม เมื่อเริ่มเจ็บครรภ์ผู้คลอดหลายรายอาจจะรู้สึกกังวลว่าตนและทารกจะเป็นอันตรายจากการคลอด บางรายอารู้สึกกลัวรู้สึกว่าการคลอดเป็นสิ่งที่คุกคามความปลอดภัยของตนเอง
5.การบันทึกการพยาบาลเมื่อรับใหม่ผู้คลอดหลังจากประเมินสภาพผู้คลอดและให้การพยาบาลเมื่อรับใหม่แล้วควรลงบันทึกการพยาบาล (nurses' note)
การพยาบาลระยะท่ี1ของการคลอด
การพยาบาลด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล
1.1 การรับประทานอาหารเนื่องจากในระยะ latent การดูดซึมและการย่อยอาหารจะช้าลงจึงควรดูแล ให้ผู้คลอดรับประทานอาหารอ่อน ย่อยง่าย ส่วนในระยะ active การย่อยและการดูดซึมอาหารจะช้าลงมาก
1.2 การขับถ่าย
1.2.1 การขับถ่ายปัสสาวะ
1.2.2 การขับถ่ายอุจจาระ
1.3 การพักผ่อนและการนอนหลับ
1.4ท่าของผู้คลอดและการทํากิจกรรม
3.การพยาบาลด้านจิตสังคม
2.การพยาบาลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวด
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของผู้คลอดในระยะที่หนึ่งของการคลอด
ความวิตกกังวล หรือความเครียด (anxiety or stress)
ความกลัว (Fear)
ความอ่อนล้า หมดแรง (exhaustion)
การพยาบาลในระยะที่ 2 ของการคลอด
ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์ Fetal condition ต้องฟัง FHS ทุก 8 นาที หรือฟังหลังจากมดลูกหดรัดแล้วทุกครั้ง เพื่อประเมินภาวะ ขาดออกซิเจน ถ้า FHS < 120 ครั้ง/นาที หรือ >160 ครั้ง/นาที ต้องให้การช่วยเหลือคลอดโดยเร็ว
ประเมินสภาวะผู้คลอดโดยสังเกตเกี่ยวกับสิ่งผิดปกติ เช่นอ่อนเพลีย ขาดน้ำ กระสับกระส่าย คลื่นไส้อาเจียน จับชีพจร 10 นาที และชีพจรไม่เกิน 100 ครั้ง/นาที รายที่มีระยะเวลาของการคลอดยาวนาน และชีพจรเกิน 100 ครั้ง/นาที ต้องรีบรายงานแพทย์ สังเกตผู้คลอดอย่างใกล้ชิด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ปกติระยะนี้มดลูกรัดตัวนานประมาณ 50 > 60 ไม่เกิน 90 นาที และหดรัดตัวทุก 2-3 นาที สิ่งที่ควรระวังคือ การหดรัดตัวของมดลูกชนิดไม่คลาย Fotanic contractions ซึ่งอาจเกิดภาวะมดลูกแตกได้ โดยเฉพาะมารดาตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะที่ 3 ของการคลอด
การพยาบาลทั่วไปเมื่อเกิดการตกเลือด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ สารละลายทางหลอดเลือดดำ
ตรวจวัดความดันโลหิต ชีพจร หารหายใจ
การพยาบาลเมื่อเกิดอาการตกเลือดหลังจากรกคลอด
คลึงมดลและประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจดูการฉีกขาดของการคลอด
การพยาบาลในระยะที่ 4 ของการคลอด
1.จัดให้ผู้คลอดนอนหงายราบในท่าที่สบาย
2.สังเกตที่การหดรัดตัวของมดลูกทุก 15 นาที ใน 1 ชั่วโมง หลังการคลอด
3.สังเกตจำนวนและลักษณะของเลือดที่ออกมาจากช่องคลอด
4.ตรวจดูกระเพาะปัสสาวะให้ว่างอยู่เสมอ
5.ตรวจดูบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอก มีเลือดออกที่มองเห็นได้หรือไม่ และ มีเลือดออก แทรกซึมอยู่ภายในกล้ามเนื้อหรือไม่
6.ดูแลให้ผู้คลอดได้รับอาหารและน้ำหลังคลอด