Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Croup ภาวะกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ - Coggle Diagram
Croup
ภาวะกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ
อาการและอาการแสดง
เป็นการอักเสบจากการติดเชื้อบริเวณกล่อง เสียง หลอดลมคอ และหลอดลมทำให้มีทางเดินหายใจส่วนต้นมีอาการบวม เกิด upper airway obstruction
หายใจลำบาก เสียงหายใจดัง (stridor)
จะได้ยินชัดเจนเวลาหายใจเข้า
ร้องเสียงแหบ (hoarseness)
ไอเสียงก้อง (barking cough)
การรักษา
ประเมิน Croup Score
ดูแลให้พักผ่อนทำหัตถการด้วยความ นุ่มนวล งดการกระตุ้นให้เด็กร้อง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอต้อความต้องการของร่างกาย
สังเกตและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
หลอดลมคออักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
โรคปวดบวม
โรคหูชั้นกลางอักเสบ
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ดูแลความสะอาดของร่างกายเพื่อความสุขสบาย
ดูแลให้ดื่มนมหรือน้ำมากๆ เพื่อทำให้เสมหะเหลวและระบายออกได้ง่าย
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารอ่อนและหลีกเลี่ยงอาหารที่จะกระตุ้นอาการไอ
ประเมินความรุนแรงของภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ
คะแนน < 4 ทางเดินหายใจถูกอุดกั้น เล็กน้อย ให้ยาพ่น และให้สังเกตการหายใจ
คะแนน 4-7 ทางเดินหายใจถูกอุดกั้นปาน กลางถึงมาก Admit ให้ออกซิเจน และพ่นยา
คะแนน > 7 มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ รุนแรงมาก อยู่ ICU ใส่ tube
ความหมาย
เป็นโรคติดเชื้อไวรัสบริเวณทางเดินหายใจส่วนบนที่พบมากในเด็ก และมักเกิดในช่วงปลายฝนต้นหนาว จะหายใจติดขัดและไอแบบมีเสียงก้อง อาการของโรคเกิดจากการบวมของกล่องเสียงและหลอดลม
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส ท่ีพบบ่อย ได้แก่ Parainfluenaz virus type 1,2, 3 ส่วนเชื้ออื่นๆ ที่พบ ได้แก่ Influenza virus A และ B, Respiratory syncytial virus, Adenovirus, Measles
พยาธิสรีรภาพ
การอักเสบบริเวณกล่องเสียงซึ่งเกิดจากการติดเชื้อที่ Glottic และ subglottic ทำให้เกิดการบวมและมีเสมหะเหนียวทำให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบน เนื่องจากในเด็กตำแหน่งของทางเดินหายใจที่แคบท่ีสุดจะอยู่ใต้กล่องเสียงบริเวณกระดูก cricoid ซึ่งมีขนาดเล็กมาก และยังพัฒนาไม่เต็มที่
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากการแลกเปลี่ยนก๊าซไม่มีประสิทธิภาพ
ข้อมูลสนับสนุน
หายใจเหนื่อยหอบ
ตัวเขียวคล้ำ
อัตราการหายใจมากกว่า 26 ครั้งต่อนาที
การพยาบาล
จัดท่านอนศีรษะสูงประมาณ 30 องศา ใช้ผ้าหนุนให้คอแหงนเล็กน้อยในเด็กเล็ก เพื่อให้ปอดขยายตัวได้ดี
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจน ตามแผนการรักษา
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะพร่อง ออกซิเจน เช่น หายใจหอบมากข้ึน หายใจลำบาก หายใจเข้ามีเสียงดัง (inspiratory stridor) มีหายใจหน้าอกบุ๋มรุนแรงมาก ข้ึน ระดับความรู้สึกตัวลดลง กระสับกระส่าย ร้องกวน ซึม
ช่วยระบายเสมหะด้วยการทากายภาพบาบัดทรวง อกและดูดเสมหะ ในรายการที่ตรวจพบว่ามีเสมหะมาก และ เป็นสาเหตุของการอุดก้ันทางเดินหายใจ
มีโอกาสเกิดเกิดภาวะขาดสารน้ำเนื่องจากได้รับน้ำน้อยและน้ำมากทางเหงื่อและการหายใจ
ข้อมูลสนับสนุน
รับประทานอาหารได้น้อย
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและสารอาหาร เพื่อให้ได้รับอาหารเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
จัดอาหารให้น่ารับประทาน เพื่อกระตุ้นการอยากอาหาร
จัดสภาพแวดล้อมให้สะอาด
ติดตามชั่งน้ำหนัก สัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง ค่า BMI อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ติดเชื้อเนื่องจากมีไข้
ข้อมูลสนับสนุน
อุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
การพยาบาล
ประเมินวัดสัญญาณชีพ ถ้าอุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียสให้ดูแลเช็ดตัวลดไข้
ล้างมือก่อนและหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง
ให้สวม mask ตลอดเวลาขณะให้การพยาบาล
ทำความสะอาดร่างกายวันละ 2 ครั้ง
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาดปราศจากเชื้อ
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติ
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
X-ray พบ Classic steeple sign หรือ Pencil sign