Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 - Coggle Diagram
บทที่ 8
ภาวะผิดปกติของต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
กลุ่มอาการคุชชิ่ง (Cushing’s syndrome)
สาเหตุ
ร่างกายได้รับ glucocorticoid มากเกินปกติจากการรับประทานยา corticosteroid
ปริมาณมากและติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน
ร่างกายสร้าง glucocorticoid มากเกินปกติ เป็นสาเหตุที่พบได้น้อย
การรักษา
ยา ได้แก่ ยา Mitotane 2-3 gm/d เพื่อยับยั้งการสร้าง corticosteroid และ adrenal steroid และป้องกันการแพร่กระจายของมะเร็ง S/E คือ อาเจียน เบื่ออาหาร ท้องเดิน วิงเวียน ง่วงซึม และยาอื่นที่ใช้ยับยั้งการสร้างสเตียรอยด์
การผ่าตัด ต่อม adrenal (adrenalectomy)
การรับประทานอาหาร ลดอาหารพลังงานสูงและคาร์โบไฮเดรตสูง ให้อาหารโซเดียมต่ำ
โพแทสเซียมสูง
ภาวะต่อมหมวกไตบกพร่อง (Adrenal insufficiency, AI)
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะวิกฤติที่เรียกว่า Addison’s crisis/Addisonian crisis
การรักษา
ให้ Cortisol replacement
ให้อาหารโซเดียมสูง โพแทสเซียมต่ำ ดื่มน้ำมากขึ้น เลี่ยงภาวะเครียด
ภาวะ Pheochromocytoma
การรักษา
การให้ยาลดความดันโลหิตและอาการอื่นๆ
การผ่าตัด adrenalectomy
ภาวะผิดปกติของต่อมใต้สมอง
เนื้องอกของต่อมใต้สมอง (Pituitary tumor หรือ Pituitary adenoma )
อาการและอาการแสดง
. การที่เนื้องอกกดเบียดอวัยวะข้างเคียง (Mass effect)
การพร่องฮอร์โมน (Hormonal insufficiency)
เนื้องอกสร้างฮอร์โมนมากเกินปกติ(Hormonal hypersecretion
การรักษา
การผาตัด
การผาตัดแบบเปดกะโหลก (transcranial approach)
การผาตัดผานกระดูกสฟนอยด (transsphenoidal approach)
ภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญคือ
การรั่วของน้ำในสมอง
และไขสันหลัง (cerebrospinal fluid: CSF)
การรักษาทางยา
hydrocortisone
thyroid hormone
growth hormon
รังสีรักษา (Radiation therapy)
ภาวะผิดปกติของต่อมใต้สมองส่วนหลัง:
ภาวะเบาจืด (Diabetes insipidus, DI)
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะมาก ประมาณ 5-20 ลิตรต่อวัน หรือถ่ายปัสสาวะทุก ½ -1 ชั่วโมง
กระหายน้ำมาก ดื่มน้ำมาก อ่อนเพลีย กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฉุนเฉียวง่าย ปวดศีรษะ
ขาดน้ำ: ผิวหนังแห้ง น้ำหนักลด เบื่ออาหาร ท้องผูก
ปัสสาวะมีความถ่วงจำเพาะต่ำ (Sp.gr < 1.005)
หัวใจเต้นเร็ว หรืออาจถึง shock ถ้าให้น้ำทดแทนไม่ทัน
การรักษา
ให้ vasopressin และ vasopressin tannate ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือให้ lypressin โดยพ่นทางจมูก
ภาวะ Syndrome of Inappropriate ADH Secretion (SIADH)
การวินิจฉัย SIADH
ค่า osmolality ในเลือด < 280 mOsm/kg และผู้ป่วยต้องไม่มีpseudohyponatremia
lnappropriate concentrated urine (โซเดียมในปัสสาวะ > 20 มิลลิโมล/ลิตร และ
osmolality ในปัสสาวะ > 100 mOsm/kg ในขณะที่มีosmolality ในปัสสาวะต่ำ)
ปริมาณน้ำในร่างกายปกติหรือเกินเล็กน้อย
ปริมาณโซเดียมในปัสสาวะสูง ขณะที่ผู้ป่วยได้รับเกลือและน้ำในปริมาณปกต
ผู้ป่วยต้องไม่มีภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน hypocortisolism ไม่มีการใช้ยาขับปัสสาวะ
หรือความผิดปกติของตับและไต
การรักษา SIADH
การจำกัดน้ำ (Fluid restriction) วันละ 500-800 มิลลิลิตร
สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ชนิด normal saline
รักษาสาเหตุของ SIADH เช่น โรคมะเร็ง
การให้ หากชักหรือหมดสติ ควรรักษาด้วย hypertonic (3%) saline หยดทางหลอด
เลือดดำ 200-300 มล.ช้าๆตามแผนการรักษา
การให้ยาขับปัสสาวะ furosemide 1 mg/Kg
ภาวะผิดปกติของต่อม Thyroid
ภาวะ Hyperthyroidism
อาการและอาการแสดง
น้ำหนักตัวลดลง, เหงื่อออกมาก, ขี้ร้อน
เหนื่อยง่าย, ใจสั่น, ชีพจรเต้นเร็ว โดยเฉพาะขณะพัก
มีอาการมือสั่น โดยเฉพาะเวลาให้เหยียดแขนและมือออกไป
ข้างหน้า
มีอาการหิวบ่อย กินจุ
การรักษา
รับประทานยาระยะยาว: ในผู้ที่อายุน้อยอาการไม่มาก, ต่อมไม่โตมาก,เป็นมาไม่นาน
การรักษาโดยการผ่าตัด: ในที่อายุน้อย, ต่อมโตมาก, อาการอยู่ในขั้นปานกลางถึงรุนแรง
การรักษาโดยให้ radioactive iodine: ในวัยกลางคน, อาการขั้นปานกลางถึงรุนแรง,
รักษาด้วยยาแล้วไม่หาย, มีโรคอื่นแทรกซ้อน, ต่อม thyroid โตปานกลาง
ภาวะ Hypothyroidism
สาเหตุ Hypothyroidism
autoimmune thyroiditis หรือเรียก Hashimoto’s disease คือการที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ทำลายต่อมไทรอยด
จากสารหรือยาบางชนิด ได้แก่ lithium, iodine compound, amiodarone และกลุ่ม
antithyroid drugs
ได้รับสาร iodine ไม่เพียงพอ
การรักษาด้วยการฉายแสงในผู้ป่วยมะเร็ง
เกิดภายหลังการรักษา hyperthyroidism
ผู้สูงอายุจากการมีatrophy of thyroid gland
สาเหตุจากโรคอื่นเช่น scleroderma
การรักษา
ไม่ใช้ยา ลดภาวะเครียด เพิ่มอาหารไฟเบอร์สูง ดูแลการขับถ่าย ผิวหนัง การทำกิจกรรม
ใช้ยา ได้แก่ ยาไทรอยด์ฮอร์โมน levothyroxine (T4) ควรรับประทานตอนเช้าอย่าง
ต่อเนื่อง อาการเริ่มดีขึ้น 2-3 สัปดาห
การผ่าตัด เมื่อก้อนไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น
ภาวะผิดปกติต่อม Parathyroid
ภาวะ Hyperparathyroidism
ภาวะแทรกซ้อน
Hypercalcemic crisis เมื่อ serum calcium>15 mg/dl มีผลต่อระบบประสาทและไตได้ ซึ่งต้องได้รับสารน้ำและยาเพื่อลดระดับแคลเซียมในเลือด
การรักษา
ให้อาหารแคลเซียมต่ำ วิตามมินดีต่ำ ดื่มน้ำ 2-3 ลิตร/วัน ให้ฟอสเฟตเพิ่ม เพื่อลดการสลาย
กระดูก
ผ่าตัดเอาเนื้องอกออก (subtotal parpthyroidectomy )
ภาวะ Hypoparathyroidism
การประเมินสภาพ
ประวัติและตรวจร่างกาย
ผล lab มีแคลเซียมต่ำ และฟอสฟอรัสสูง ผล EKG เปลี่ยนแปลง เช่นมี QT prolong ,
invert or peak T , heart block
การรักษา
ไม่ใช้ยา ให้รับประทานอาหารที่แคลเซียมสูง ฟอสฟอรัสต่ำ ดื่มน้ำมากๆเลี่ยงอาหารที่มีออก
ซาเลทสูง
ใช้ยาวิตามินดี ช่วยดูดซึมแคลเซียม ,ยาขับปัสสาวะ ถ้าแคลเซียมต่ำอย่างรุนแรงให้calcium gluconate ทาง IV ช้าๆ > 10 นาที ป้องกันหัวใจหยุดเต้นจาก Hypercalcemia และระวังในผู้ป่วยที่ได้รับยา digitalis
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
การพยาบาลผู้ป่วยโรคเบาหวาน (Diabetes mellitus)
ชนิดที่ 1 (type I DM) เกิดจากการทำลายเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อนจากภูมิคุ้มกันของร่างกาย โดย
ผ่านขบวนการ cellular mediated ส่วนใหญ่พบในคนอายุน้อย
ชนิดที่2 (type II DM) ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่ (95%) เป็นชนิดที่ 2 เกิดจากภาวะดื้อต่ออิน
สุลิน (insulin resistance) และมีความบกพร่องในการผลิตอินสุลิน (relative insulin deficiency)
เบาหวานจากการตั้งครรภ์(gestational DM)
เบาหวานที่มีสาเหตุเฉพาะ (specific DM) เช่นมีความผิดปกติทางพันธุกรรม
เบาหวานชนิดที่ 1 และ 2 พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่
อาการแสดงของโรคเบาหวาน
ถ่ายปัสสาวะจำนวนมาก (polyuria) มีระดับน้ำตาลสูงในเลือดเกินขีดจำกัดของไตที่จะ
กรองได้ ไตดูดซึมกลับไม่หมด จึงพบน้ำตาลในปัสสาวะ
ดื่มน้ำมาก (polydipsia)
น้ำหนักลด (weight loss)
รับประทานอาหารมากขึ้น (polyphagia)