Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Severe head injury c ICH c SDH, นางสาวเมธาวลัย ชัยรักษา 6301110801035 -…
Severe head injury c ICH c SDH
พยาธิสภาพ
บาดเจ็บที่ศีรษะระยะแรก
เนื้อสมองฉีกขาดเนื้อสมอง+เยื่อแรคนอยด์+เยื่อเพีย
หนังศีรษะบวม ช้ำ ถลอก ฉีกขาด แตกร้าวเป็นแนว แตกร้าวเป็นฐาน+แนวตามขวางของกระดูกด้านข้าง
เนื้อสมองกระทบกระเทือน
แบ่งออกเป็น 3 เกรด
I ไม่หมดสะติ สับสนสั้นๆ< 15 m
II ไม่หมดสติ สับสนชั่วคราว > 15 m
III หมดสติ
การบาดเจ็บทั่วไปของเนื้อสมองส่วนสีขาว บาดเจ็บอย่างรุนแรง
กะโหลกแตกยุบมีการฉีกขาดของ Dura หรือเนื้อสมองร่วมการฉีกขาดของหนังศีรษะ
เนื้อสมองช้ำ
เลือดแทรกระหว่างเซลล์สมองใต้เยื่อเนื้อสมองสีคล้ำ
บาดเจ็บระยะที่ 2
intraccranial hematoma
เลือดออกใน parenchymal tissue > 2 cm + การช้ำของสมองส่วนผิวโดยเฉพาะ frontal & temparol
subdural hematoma
acute subdural hematoma เกิดก้อนเลือดรวดเร็ว 24-72 hr.
subacute subdural hematoma เกิดก้อนเลือดใต้เยื่อดูรา 72 hr.-2 week.
chronic subdural hematoma เกิดก้อนเลือดใต้ดูรา 2 week.ขึ้นไป
ความดันในกะโหลกศีรษะสูง
มี ventericular fluid pressure 10-15 mmHg / 100mmH2O ขึ้นไป
สมองบวม
vasogenic edema BBB เสียหน้าที่ทำให้มีน้ำ และโปรตีนรั่วเข้าสู่ช่องระหว่างเซลล์
cytotoxic edema เสียหน้าที่ขับ Na+ ออกเซลล์ ทำให้ Na+ และน้ำสูงในเซลล์
ICH
เป็นภาวะที่มีเลืดคั่งในสมอง เกิดจากการมีเลือดออกอย่างกะทันหันในเนื้อสมอง ทำให้มีเลือดคั่งอยู่ภายในสมอง และสร้างความเสียหายให้แก่สมองโดยรวม และทำให้สมองบวม
SDH
เป็นภาวะตกเลือดอย่างหนึ่งทำให้มีก้อนเลือดอยู่ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นนอกสุดระหว่างเยื่อดูรากับเยื่ออะแร็กนอยด์
อาการและอาการแสดง
กะโหลกศีรษะแตกร้าว มีอาการบวม แดง ฟกช้ำ มีแผลฉีกขาดที่ศีรษะ
กะโหลกศีรษะแตกยุบ มีการฉีกขาดของเยื่อหุ้มสมองดูรา
ฐานกะโหลกศีรษะแตก พบขอบตาฟกช้ำ มีรอยขอบตา มีความผิดปกติของระบบสมองคู่ต่างๆ
อาการบาดเจ็บต่อสมองที่พบในผู้ป่วยรายนี้คือ Severe head injury คือ ผู้ป่วยไม่รู้สึก
ผู้ป่วยเพศชาย อายุิ38 ปี เชื้อชาติ ไทย สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ สถานภาพ โสด อาชีพ รับจ้างทั่วไป
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
E1VTM4-5 on ETT 7.5 #21 Lw ที่ศีรษะประมาณ2 cm. Refer จาก รพ. ธัญบุรี
อาการสำคัญที่มา รพ.
ซ้อน MC. เรียกไม่รู้สึกตัวมีแผล Lwประมาณ 2*0.5 cm E1V1M5 on ETT 7 #21
ปฏิเสธการเจ็บในอดีต
การตรวจร่างกาย
v/s
13/6/65 BP=123/85 mmHg P= 123 ครั้ง/นาที T=38.2 C RR=20ครั้ง/นาที
14/6/65 BP=130/90 mmHg.P=106 ครั้ง/นาที T= 38.1 C RR=20ครั้ง/นาที
15/6/65 BP= 125/80 mmHg. P=112ครั้ง/นาที T=37.3 C RR = 20 ครั้ง/นาที
WBC=20.38 (สูง)(4.8-10.8)
Glascow Coma Scale
15/6/65 E4VTM6
14/6/65 E4VTM6
13/6/65 E4VTM2
การรักษา
on VCV Fi2 FiO2 0.4 TV 500 PEEP 5 Keep spo2 มากกว่าหรือเท่ากับ 94 RR < 30
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อสมองขาดออกซิเจน เนื่องจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
เสี่่ยงต่อการติดเชื้อของทางเดินหายใจ เนื่องจากมีท่อเจาะคอ
เสี่ยงต่อระดับความรู้สึกตัวลดลง เนื่องจากมีเลือดออกในสมอง
สูญเสียกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากพยาธิสภาพของโรค
suction prn q 6 hr.
นางสาวเมธาวลัย ชัยรักษา 6301110801035