Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัวใจพิการแต่กําเนิด Congenital Heart Disease - Coggle Diagram
โรคหัวใจพิการแต่กําเนิด Congenital Heart Disease
โรคหัวใจพิการแต่กําเนิดชนิดเขียว 3 กลุ่ม แบ่งตามปริมาณของเลือดที่เข้าสู่ปอด
a. Tetralogy of Fallot (TOF)
กลุ่มที่มีเลือดไปปอดน้อย (low pulmonary blood flow)
cyanotic congenital heart disease ที่พบบ่อยที่สุด เป็นโรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว คือผู้ป่วยมีอาการเขียว(cyanosis: ปากและเล็บเขียว) ให้เห็นได้ชัดเจน
4 องค์ประกอบ เป็น consequential results ของ abnormality ในการแบ่งช่องทางออกของหัวใจช่วง embryo คือ เกิด anterosuperior displacement of inbundibular septum
มี 4 องค์ประกอบ
Overriding aorta คร่อมเหนือ VSD
Ventricular septal defect มักมีขนาดใหญ่ : การมีรูรั่วที่ผนังกั้นหัวใจห้องล่างขวาและซ้าย (VSD)
มีการคร่อมของหลอดเลือดแดงใหญ่ (aorta) บริเวณรูรั่วผนังก้ันหัวใจห้องล่าง
ขวาและซ้าย (ventricular septal defect :VSD) ที่เรียกว่า overriding of the aorta
เส้นเลือด aorta จะคร่อม VSD จึงท าให้รับทั้งเลือดดำจากหัวใจห้อง
ล่างขวา และเลือดแดงจากหัวใจห้องล่างซ้าย(overriding of aorta) ส่งผลให้การรับเลือดดำจากหัวใจห้องล่างขวา และเลือดแดงจากหัวใจห้องล่างซ้าย มีขนาดใหญ่ขึ้น
ผนังหัวใจห้องล่างขวาหนา และหัวใจห้องล่างขวาโต (Hypertrophy of right
ventricle)
Right ventricular hypertrophy
ผนังหัวใจห้องล่างขวาหนาและหัวใจด้านขวาโต จาก
การที่ความดันในหัวใจห้องล่างขวาสูงเป็นเวลานาน เนื่องมาจากมีการตีบของทางออกของเลือดจากหัวใจห้องล่างขวา
ทางออกของหัวใจห้องล่างขวาตีบ (pulmonary stenosis: PS)
Right ventricular outflow tract (RVDT) obstruction ส่วนใหญ่มักเป็น subpulmonic หรือ inbundibular stenosis และอาจพบร่วมกับ pulmonary valvular stenosis
คือมีทางออกของหัวใจห้องล่างขวาตีบ (Pulmonary stenosis) บริเวณที่เกิดการตีบที่พบได้มากที่สุดคือ ตีบเหนือ Pulmonic value
อาจพบร่วมกับความผิดปกติอื่น
right-sided aortic arch 25%
abnormal coronary anatomy 5%
stenosis of pulmonary artery bronchies
Pathophysiology
abnormality ของ circulatory system in TOF relates to severity of right ventricular outflow tract obstruction
Mild obstruction
ช่วง 1 ปีแรก จะเกิดเพียง left-to-right shunt ผ่าน VSD ที่ใหญ่ โดยไม่พบ cyanosis (แต่จะเกิด cyanosis later during the age of 1-3 yr
Moderate obstruction
เกิด right-to-left shunt ผ่าน VSD -> ทำให้เลือดที่ออกไปเลี้ยงร่างกายมี ⬇️ Oxygen -> เกิด cyanosis (มักสังเกตได้ในช่วง 6-8 months after delivery
Severe obstruction
เด็กมีอาการทันทีหลังคลอด เนื่องจาก ⬇️ เลือดผ่าน pulmonary artery ได้น้อย -> จึงต้องอาศัยเลือดผ่าน ductus ariosus (อาจต้องให้ prostaglandin E to keep the ductus open)
Symptoms and signs
depending on the severity of the RVOT obstruction
เด็กจะเขียว โตช้า
มีภาวะแทรกซ้อนสัมพันธ์กับ cyanosis
Clubbing fingers and toes
polycythemia
มีภาวะเลือดข้น (polycythemia) จะพบค่าความเข้มข้นของเลือดสูง (Hct.> 60% )
ภาวะเลือดข้นนี้
จะส่งผลทำให้สมองขาดออกซิเจน รวมทั้งมีอาการหายใจแรง ลึก เขียว และวูบหมดสติได้
coagulopathy
stroke
brain abscess
high risk to have
infective endocorditis
opportunity to have
hypoxic spells
(ช่วงหลายเดือน - 2 yr)
Hypoxic spells or Tet spells อาการ หายใจเร็ว แรง เหนื่อยหอบมากขึ้น เขียวมากขึ้น
กระสับกระส่าย หมดสติ ชัก ซึ่งมักเกิดหลังตื่นนอน หรือหลังร้องไห้ หรือเบ่งถ่าย
สิ่งที่กระตุ้นให้เกิด
Slightly decrease oxygen saturation (crying, defecation)
Suddenly decreased systemic vascular resistance (playing, kicking leg)
Sudden onset of tachycardia, hypovolemia
สิ่งกระตุ้นที่กล่าวมา ทำให้เกิด right-to-left shunt เพิ่มขึ้น pulmonary blood flow ลดลง และ systemic flow เพิ่มขึ้น แต่ปริมาณเลือดที่ไป systemic จะมีระดับ ⬇️ Oxygen
สิ่งที่ตรวจพบขณะเกิด Tet spells
Paroxysmal hyperpnea เด็กจะหายใจแรงและเร็ว
Increasing cyanosis
Decreasing intensity of murmur
อาจมีอาการของ brain hypoxia เช่น weak, conscious change, convulsion
การตรวจหัวใจพบ
(resulting from
pulmonary stenosis)
systolic ejection murmur (grade 3-5) at left mid and upper sternal border
VSD จะไม่ได้ยินเสียง murmur due to มีขนาดใหญ่จน pressure ใน RV และ LV ไม่แตกต่างกันมาก
เสียงหัวใจ S2 จะได้ยินเป็นเสียงเดียว due to เสียงที่เกิดจาก pulmonary valve (P2) เบาลงมากจึงได้ยินเพียงเสียงเดียว
Diagnosis
Echocardiography
เพื่อยืนยันการตรวจวินิจฉัย และความผิดปกติอื่นที่อาจพบร่วม
Chest radiography
หัวใจ มีลักษณะเป็น boot-shape (มีลักษณะเหมือนรองเท้าบู๊ต) due to right ventricular hypertrophy ดันให้ส่วน apex ยกขึ้น มักไม่พบ cardiomegaly และ pulmonary vasculature ลดลง
Electrocaridography (EKG)
พบ right axis deviation และ right ventricular hypertrophy
Treatment ความผิดปกติในโรค TOFไม่สามารถหายเองได้ ต้องได้รับการผ่าตัดแก้ไขความผิดปกต
Operation การผ่าตัด
Total correction (เปิด VSD และ ซ่อมแซม right ventricular outflow tract)
การผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติทั้งหมด (total correction หรือ total repair)หมายถึง การ
ผ่าตัดเพื่อแก้ไขความผิดปกติของโรคท้งัหมด โดยใชเ้ครื่องหวัใจ-ปอดเทียมขณะผ่าตัด
เครื่องหัวใจและปอดเทียม (Cardiopulmonary Bypass : CPB)
เป็นอุปกรณ์ที่ถูกนำมาใช้เพื่อทำหน้าที่แทนระบบหัวใจและระบบหายใจ ชั่วคราวขณะทำ
ผ่าตัดหัวใจแบบเปิด เพราะในขณะผ่าตัดหัวใจและปอดของผู้ป่วยต้องหยุดทำงานหรือลดการทำงานลง เครื่องหัวใจและปอดเทียมจะช่วยทำงานแทนระบบหัวใจและระบบหายใจ
ป้องกัน bacterial endocarditis
ระยะผ่าตัด หมายถึง ช่วงระยะเวลาในการให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยเริ่มต้ังแต่ผู้ป่วยอยู่ ห้องพักรอก่อนผ่าตัด ในห้องผ่าตัด และหลังจากผู้ป่วยไดร้ับการผ่าตัดเสร็จสิ้นจนถึงส่งผูป่วยไปหอผู้ป่วยวิกฤต
Nursing
preoperative nursing care
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยเด็กต้องประเมินระดับความรู้และการรับรู้ของเด็กแต่ละราย ถ้าเป็ นเด็กเล็ก
แนะนำผู้ปกครองแทน
เตรียมความพร้อมด้านจิตใจ ผู้ป่ วยมักจะมีความเครียด และความวิตกกังวล ก่อนการผ่าตดัโดยเฉพาะวันที่รับการผ่าตัดถ้าไม่มีผู้ปกครองมาด้วยส่วนใหญ่มีความวิตกกังวล และ
กลัวการผ่าตัด ผู้ป่ วยแต่ละรายมีการตอบสนองความกลัวที่แตกต่างกัน
เริ่มตั้งแต่การรับผู้ป่วยจากหอผู้ป่วยมายังห้องพักรอดูอาการก่อนผ่าตัดจนกระทั่งผู้ป่วยย้ายเข้าห้องผ่าตัด
การผ่าตัด Total repair ในโรค TOF เป็นการผ่าตัดใหญ่ในเด็กที่เป็ นโรคหัวใจที่มีภาวะเขียว ขณะรอผ่าตัดต้องเฝ้าระวังเพื่อไม่ให้ผู้ป่ วยเกิดอาการ hypoxic spell จากสภาวะของโรคหรือ
หากเกิดข้ึนพยาบาลตอ้งช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ตรวจวดั สัญญาณชีพ ได้แก่ อุณหภูมิกาย ชีพจร การหายใจ ความดันโลหิต และความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดแดง (SpO2
) หากอาการไม่ดีข้ึน
ให้รายงานแพทย
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเน้ือเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง และมีหลอดเลือดไปปอดตีบ
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรค TOF
2.ริมฝีปากและปลายมือและเท้าซีด เขียว ขณะนอนรอผ่าตัด
3.ค่า SpO2 < 85%
เป้าหมาย
ผู้ป่วยปลอดภัย เน้ือเยื่อได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
(intraoperative nursing care)
เริ่มต้ังแต่ย้ายผู้ป่วยจากห้องรอผ่าตัดเข้ารับการผ่าตัดจนเสร็จผ่าตัดและย้ายมาดูแลใน
ห้องพักฟื้น หรือไปหอผู้ป่วยวิกฤต
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะกล้ามเน้ือหัวใจขาดเลือดจากการหยุด
หัวใจขณะผ่าตัด
(postoperative nursing care)
ระยะที่เสร็จสิ้นการผ่าตัด และเคลื่อนยา้ยผู้ป่วยไปยงัหอผู้ป่วยวิกฤต โดยที่ผู้ป่วยยังคงใส่ท่อ
ช่วยหายใจ ทีมส่งผู้ป่วยประกอบด้วย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อกจากการเสียเลือดหลังผ่าตัด
ข้อมูลสนับสนุน
1 more item...
เป้าหมาย
1 more item...
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิกายต่ำ (hypothermia) หลังผ่าตัด
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเน้ือเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
เนื่องจากประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
กลุ่มที่มีเลือดไปปอดมากหรือปกติ (high or normal pulmonary blood flow)
กลุ่มที่ต้องอาศัยการผสมกันของเลือด (mixing-dependent group)
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด ( Congenital heart disease, CHD) เป็นความผิดปกติด้านโครงสร้างของหัวใจและหลอดเลือดที่พบหลังคลอด ส่วนใหญ่สัมพันธ์กับความผิดปกติในช่วงที่มีการเจริญเติบโตของระบบหัวใจและหลอดเลือดในช่วงอายุครรภ์ 3-8 weeks
สาเหตุและพยาธิกำเนิด
CHD พบมากที่สุดในเด็กประมาณ 90% ส่วนใหญ่ไม่พบสาเหตุ
ปัจจัยภายนอกที่สัมพันธ์กับโรค
ความเจ็บป่วยของแม่
โรคเบาหวาน, SLE
ยา/สารเคมี
Tholidomide
Isotretinoin
Lithium
Alcohol
Genetic disorder
Single gene mutation
Small chromosomal deletions, trisomy, monosomy