Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Tonsillitis - Coggle Diagram
Tonsillitis
อาการของโรค
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ควรพบแพทย์เมื่อใด
เมื่อคุณมีอาการของต่อมทอนซิลอักเสบ ควรไปพบแพทย์เพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้องหากมีอาการต่อไปนี้
-
-
-
-
ปัจจัยเสี่ยง
-
การสัมผัสเชื้อโรค เด็กในวัยเรียนมีแนวโน้มที่จะสัมผัสเชื้อโรคต่าง ๆ ที่ทำให้ป่วย เช่น โรคต่อมทอนซิลอักเสบ เพราะมักใกล้ชิดเพื่อน
-
-
สาเหตุ
ไวรัสเป็นสาเหตุที่มักก่อให้เกิดโรคต่อมทอนซิลอักเสบ ในกรณีที่การติดเชื้อเกิดจากแบคทีเรีย สเตร็ปโตคอกคัส (ชนิดเอ) เป็นสายพันธุ์ที่มักก่อให้เกิดอาการคออักเสบ แต่แบคทีเรียหรือสเตร็ปโตคอกคัสสายพันธุ์อื่นก็อาจเป็นสาเหตุของต่อมทอนซิลอักเสบได้เช่นกัน
ทำไมต่อมทอนซิลถึงอักเสบ
ต่อมทอนซิลเป็นด่านแรกที่ป้องกันการบุกรุกของเชื้อโรคที่เข้าสู่ทางปาก การได้รับเชื้อโรคไวรัสและแบคทีเรียเพิ่มโอกาสที่จะทำให้ต่อมทอนซิลอักเสบ โดยระบบภูมิคุ้มกันของต่อมทอนซิลมักจะลดลงหลังวัยเจริญพันธุ์ ทำให้ผู้ใหญ่ไม่ค่อยพบต่อมทอนซิลอักเสบ
การได้รับเชื้อจากผู้ที่ป่วยโรคที่เกิดจากไวรัสต่อไปนี้ จึงอาจนำไปสู่การติดเชื้อที่ต่อมทอนซิลได้เช่นกัน
-
-
-
-
-
-
ไวรัสเอ็บสไตน์บาร์ (Epstein-Barr) ที่สามารถก่อให้เกิดโรคโมโนนิวคลีโอซิส แต่ทอนซิลอักเสบที่เกิดจากแบคทีเรียชนิดนี้จะพบได้ไม่บ่อย
การวินิจฉัยโรค
-
การเก็บเชื้อในลำคอ
แพทย์จะเก็บสารคัดหลั่งในลำคอ ส่งไปยังห้องแล็บเพื่อตรวจหาเชื้อแบคทีเรียสเตร็ปโตคอกคัส
หากผลเป็นบวก สาเหตุของต่อมทอนซิลอักเสบมักเกิดจากแบคทีเรีย และผลจะเป็นลบหากการติดเชื้อเกิดจากเชื้อไวรัส
-
ต่อมทอนซิลอักเสบมักเกิดจากการติดเชื้อไวรัส แต่การติดเชื้อแบคทีเรียก็อาจทำให้ต่อมทอนซิลอักเสบได้เช่นกัน
เมื่อมีอาการเจ็บคอ กลืนแล้วเจ็บ ทอนซิลบวมอักเสบ และต่อมน้ำเหลืองบริเวณลำคอโต นั่นอาจเป็นสัญญาณของโรคต่อมทอนซิลอักเสบ ต่อมทอนซิลคือต่อม 2 ต่อม มีลักษณะเป็นวงรี อยู่ตรงด้านในลำคอ
การรักษาต่อมทอนซิลอักเสบนั้นต้องอาศัยการวินิจฉัยโรคเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง การผ่าตัดต่อมทอนซิลเป็นการรักษาที่นิยมทำในอดีต แต่ปัจจุบันจะทำการผ่าตัดต่อเมื่อมีอาการต่อมทอนซิลอักเสบซ้ำ ๆ หรืออาการไม่ตอบสนองต่อการรักษา หรือมีโรคแทรกซ้อนรุนแรง
การป้องกัน
เชื้อไวรัสและแบคทีเรียซึ่งเป็นสาเหตุของต่อมทอนซิลอักเสบแพร่เชื้อติดต่อกันได้ แต่สามารถป้องกันการติดต่อของโรคได้ หากท่าน
-
-
-
-
การรักษา
การดูแลตัวเองที่บ้าน
การดูแลตัวเองที่บ้านช่วยบรรเทาอาการและทำให้ฟื้นตัวจากต่อมทอนซิลอักเสบจากการติดเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียได้เร็วขึ้น ถ้าเป็นทอนซิลอักเสบจากการติดเชื้อไวรัส การดูแลตัวเองที่บ้านเป็นวิธีรักษาเพียงวิธีเดียว แพทย์จะไม่จ่ายยาปฏิชีวนะ อาการมักหายได้เองภายใน 7-10 วัน ที่บ้านผู้ปกครองควรจะดูแลดังนี้
-
-
ให้บุตรหลานรับประทานอาหารหรือดื่มเครื่องดื่มอุ่น ๆ เช่น ซุปหรือน้ำแกงอุ่น น้ำอุ่นผสมน้ำผึ้ง หรือไอติมเพื่อบรรเทาอาการเจ็บคอ
ให้บุตรหลานกลั้วคอด้วยน้ำเกลือ เพื่อบรรเทาอาการเจ็บคอ ผู้ปกครองสามารถทำน้ำเกลือ โดยผสมน้ำอุ่น ประมาณ 8 ออนซ์ หรือ 1 ถ้วยกับเกลือครึ่งช้อนชา
-
-
-
ยาปฏิชีวนะ
แพทย์จะจ่ายยาปฏิชีวนะสำหรับต่อมทอนซิลอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ควรรับประทานยาให้ครบและหมดแม้ว่าอาการจะดีขึ้นหรือหายแล้ว ต่อมทอนซิลอักเสบอาจแย่ลงหรือการติดเชื้ออาจกระจายไปยังอวัยวะส่วนอื่น หรืออาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ไข้รูมาติก หรือ โรคไตอักเสบเฉียบพลันในกรณีที่ไม่รับประทานยาให้ครบทั้งหมด
การผ่าตัด
การผ่าตัดเป็นการรักษาโรคต่อมทอนซิลเรื้อรัง เกิดซ้ำ หรือเกิดจาการติดเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งไม่ตอบสนองกับยาปฏิชีวนะ อาการต่อมทอนซิลอักเสบจะจัดว่าเป็นอาการที่เกิดขึ้นบ่อย เมื่อเกิดขึ้น
-
-
-
-
การเตรียมตัวก่อนพบแพทย์
ปรึกษาแพทย์หากบุตรหลานของท่านมีอาการต่อมทอนซิลอักเสบ เช่น กลืนลำบาก เจ็บคอ หรืออาการอื่น ๆ และอาจจำเป็นต้องทำการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมกับแพทย์ด้านโสตศอนาสิกวิทยา
-