Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การดูแลด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ของสตรีมีครรภ์
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 1
1.ความไม่แน่ใจ (uncertainty) และความรู้สึกก่ํากึ่ง (ambivalence) ไม่แน่ใจว่าตนตั้งครรภ์หรือไม่
2.ความรู้สึกเสียใจ (grief)สตรีมีครรภ์จะรู้สึกเสียใจอาลัยต่อบทบาทเดิมเพื่อการ มีบทบาทใหม่ของการเป็น มารดา
3.ความกลัวและการเพ้อฝัน (fear and fantasies) สตรีมีครรภ์จะสนใจเฉพาะ อาการเปลี่ยนแปลงและความไม่สุข สบายของตนเอง
4.อารมณ์แปรปรวน (mood swing) ส่วนหนึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนในระยะตั้งครรภ์และ เกิดขึ้นได้ตลอดการตั้งครรภ์
5.ความสนใจและความต้องการทางเพศ (changes in sexual desire) สตรีบางรายอาจมีความสนใจและ ความต้องการทางเพศลดลง
เนื่องจากความไม่สุข
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 2
การยอมรับการตั้งครรภ์ (acceptance of pregnancy) สตรีมีครรภ์จะยอมรับการตั้งครรภ์เนื่องจากมี ความชัดเจนของอาการและอาการแสดงของการตั้งครรภ์มากขึ้น
รักและใส่ใจตนเอง (narcissism and introversion) สตรีมีครรภ์จะใส่ใจกับการเรียนรู้บทบาทมารดา และการทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ เช่นรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
การรับรู้ภาพลักษณ์ (body image and boundary) สตรีมีครรภ์บางรายพึงพอใจ ภูมิใจต่อภาพลักษณ์ ของตนเพราะคิดว่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งบ่งบอกว่าทารกเจริญเติบโต และความสามารถในการเป็น มารดา
ความสนใจและความต้องการทางเพศ (change in sexual desire) สตรีมีครรภ์ส่วนใหญ่ไม่รู้สึกถึง ความเปลี่ยนแปลง แต่บางรายรู้สึกมีความสุขในการมีเพศสัมพันธ์ลดลง เนื่องจากอาการเหนื่อยล้า
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 3
1.ความเครียด (stress)สตรีมีครรภ์กว่าร้อยละ 80 มีความเครียดตั้งแต่ระดับปานกลางจนถึงระดับสูง และวิตกกังวลเมื่อใกล้เข้าสู่ระยะคลอด
ความสนใจและความต้องการทางเพศ (change in sexual desire) สตรีมี ครรภ์บางรายไม่รู้สึกถึงการ เปลี่ยนแปลงความต้องการทางเพศ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านภาพลักษณ์ของ
หญิงตั้งครรภ์ในแต่ระยะของการตั้งครรภ์
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 1
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายยังไม่ปรากฏชัดเจน
หญิงตั้งครรภ์จึงไม่รู้สึกต่อการเปลี่ยนแปลง
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 2
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย บางคนรู้สึกปฏิเสธต่อรูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไป บางคนรู้สึกว่าได้รับการเอาใจใส่จาก
บุคคลรอบข้างมากขึ้น
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 3
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายมากขึ้น รู้สึกเคลื่อนไหวไม่สะดวก ผิวหนัง บริเวณ หน้าท้องและเต้านมแตกทํา ให้รู้สึกอับอาย มีความรู้สึกทางด้านลบต่อ ภาพของตนเองมาก
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง
ด้านจิตสังคมในระยะตั้งครรภ์
ปัจจัยส่วนบุคคลของสตรีมีครรภ์ ได้แก่วุฒิภาวะทางอารมณ์ ความพึงพอใจในชีวิตสมรสสัมพันธภาพกับ มารดา
อัตมโนทัศน์และการรับรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์
วุฒิภาวะทางอารมณ์
ความพึงพอใจในชีวิตสมรส
สัมพันธภาพกับมารดา
การรับรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์และการรับรู้ภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์
อายุสตรีมีครรภ์อายุน้อย หรือมีการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ปัจจัยด้านครอบครัว ครอบครัวมีบทบาทที่สําคัญต่อการปรับตัวของสตรีมีครรภ์
ลักษณะครอบครัว สตรีมีครรภ์ในครอบครัวเดี่ยวมีโอกาสเกิดความเครียดเนื่องจากขาดแหล่งพึ่งพิง
ความคาดหวังของครอบครัว ท่าทีและความคาดหวังของบุคคลอื่นๆ
สภาพเศรษฐกิจ
ปัจจัยด้านสังคมและระบบบริการสุขภาพ แม้ว่าการตั้งครรภ์จะเป็นเหตุการณ์ปกติทางสังคม
ความเชื่อและการให้คุณค่าเกี่ยวกับการตั้งครรภ์แต่ละสังคมจะมีความเชื่อ
ระบบบริการสุขภาพระบบบริการสุขภาพมีความสําคัญต่อพฤติกรรมการดูแลตัวเองและการปรับตัว ของสตรีมีครรภ์และครอบครัว