Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.3.3-3.3.6 การประเมินภาวะสุขภาพมารดา - Coggle Diagram
3.3.3-3.3.6 การประเมินภาวะสุขภาพมารดา
3.3.3 การคัดกรองภาวะครรภ์เสี่ยงสูง (High risk pregnancy)
การตั้งครรภ์ซึ่งทำให้มารดาและ
ทารกในครรภ์มีอันตราย หรือมีโอกาสเสี่ยงตายสูง ทั้งระยะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด
การประเมินภาวะครรภ์เสี่ยงสูง (High Risk Pregnancy)
1-26ประเมินครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
ข้อ 27- 44 ประเมินทุกครั้งที่มาฝากครรภ์
1.อายุน้อยกว่า 17 ปี หรือมากกว่า 35 ปี & 15. มีบุตรยาก &16. ครรภ์แรก
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
-ภาวะทุพโภชนาการ
-ทารกน้ำหนักน้อย
ติดเหล้า บุหรี่ หรือยาเสพติด & 3. มีฐานะทางเศรษฐกิจต่ำ
-เด็กเจริญเติบโตช้าในครรภ์/ น้ำหนักแรกเกิดน้อย)
-เจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
-โลหิตจาง
-ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
4.ประวัติโรคเบาหวานในครอบครัว
-เบาหวานขณะตั้งครรภ์
-ความผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะเด็กและอุ้งเชิงกรานมารดา
5.ประวัติโรคเลือดในครอบครัว & 10. ประวัติเคยเป็นโรคเลือด
-ทารกน้ำหนักน้อย
โรคเลือดในเด็ก
-ภาวะทุพโภชนาการ
6.ประวัติครอบครัวมีครรภ์แฝด
-อาจตั้งครรภ์แฝด
7.ประวัติครอบครัวมีลูกปัญญาอ่อน
-อาจเกิดลูกปัญญาอ่อน
8.ประวัติครอบครัวมีรูปร่างวิปริตแต่กำเนิด
-อาจเกิดลูกวิปริตแต่กำเนิด
9.ประวัติเคยเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ & 42. พบน้ำตาลในปัสสาวะ
-โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
-ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
-ทารกตัวโต
11.ประวัติโรคหัวใจ
-โรคหัวใจระหว่างตั้งครรภ์
-ทารกน้ำหนักน้อย
12.ประวัติโรคปอด
-ทารกน้ำหนักน้อย
ประวัติโรคไต
-โรคไตระหว่างตั้งครรภ์
-ทารกน้ำหนักน้อย
-ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ประวัติโรคความดันโลหิตสูง & 34. ความดันโลหิต 140/90 mmHg หรือมากกว่า & 41.บวมกดบุ๋ม & 43. พบไข่ขาวในปัสสาวะ
-ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
-ชัก(eclampsia)
-ทารกน้ำหนักน้อย
เคยแท้งเองมากกว่า 2 ครั้ง
-การแท้งซ้ำ
18.เคยมีลูกตายในครรภ์หรือตายภายใน7วันหลังคลอด
-การตายปริกำเนิด
-เด็กโตช้าในครรภ์
เคยมีลูกพิการแต่กำเนิด
-เด็กรูปร่างวิปริตแต่กำเนิดซ้ำ
20.เคยคลอดก่อนกำหนด
-การคลอดก่อนกำหนด
21.ครรภ์ที่4 หรือมากกว่า
-การตกเลือดก่อนคลอด/ตกเลือดหลังคลอด
22.เคยคลอดลูกน้ำหนัก <2,500 กรัม
-ทารกน้ำหนักน้อย
24.เคยคลอดลูกน้ำหนัก>4,000 กรัม
-เบาหวานขณะตั้งครรภ์
-ความผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะเด็กและอุ้งเชิงกรานมารดา
เคยผ่าท้องคลอดหรือมีแผลผ่าตัดที่มดลูก
-ภาวะรกเกาะต่ำ/มดลูกแตกเวลาเจ็บครรภ์คลอด
-รกค้างหลังคลอด
ส่วนสูงน้อยกว่า 140 ซม.
-ความผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะเด็กและอุ้งเชิงกรานมารดา
Weight
น้ำหนัก < 40 กก.ให้ระวัง เด็กโตช้าในครรภ์
น้ำหนัก >70 กก.ให้ระวัง ภาวะเบาหวานและความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ตรวจพบโรคโลหิตจาง
-ทารกน้ำหนักน้อย
-โรคเลือดในเด็ก
-ภาวะทุพโภชนาการ
ตรวจพบต่อมไทรอยด์โต
โรคไทรอยด์ระหว่างตั้งครรภ์
-ทารกน้ำหนักน้อย
ตรวจพบเป็นโรคหัวใจ
-ภาวะโรคหัวใจวายเฉพาะไตรมาสที่2,3 และหลังคลอด
-ทารกน้ำหนักน้อย
ตรวจพบเป็นโรคปอด
-ทารกน้ำหนักน้อย
ตรวจพบเป็นโรคไต
-โรคไตระหว่างตั้งครรภ์,LBW,PIH
-ทารกน้ำหนักน้อย
-ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ขนาดยอดมดลูกไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
-ทารกโตช้าในครรภ์(ครรภ์เล็กกว่า)
ครรภ์ไข่ปลาอุก, ครรภ์แฝด(ครรภ์โตกว่า)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติตั้งแต่อายุครรภ์34 สัปดาห์ขึ้นไป
-ทารกท่าผิดปกติระหว่างคลอด/สายสะดือย้อย
-รกเกาะต่ำ
ครรภ์แฝด
-ทารกน้ำหนักน้อย
-ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
-ทุพโภชนาการ
-โลหิตจาง
-คลอดก่อนกำหนด
เลือดออกก่อนกำหนด
-ภาวะแท้งคุกคาม/รกเกาะต่ำ/รกลอกตัวก่อนกำหนด
ศีรษะเด็กไม่เข้าเชิงกรานหลัง 37 สัปดาห์ในครรภ์แรก
-ความผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะเด็กและอุ้งเชิงกรานมารดา
-เนื้องอกมดลูก
ตั้งครรภ์เกิน 40 สัปดาห์
-สุขภาพทารกในครรภ์ไม่ดี/ทารกอาจตายในครรภ์
เด็กดิ้นน้อยกว่า 10 ครั้ง/วัน เมื่ออายุครรภ์ 32สัปดาห์ขึ้นไป
-สุขภาพทารกในครรภ์ไม่ดี/ทารกตายในครรภ์หรือตายคลอด
ตรวจพบ VDRL,ANTI-HIV,HEPATITIS B
ให้ผลบวก
ทารกตายในครรภ์หรือตายคลอด
ทารกเป็นโรคนั้นๆโดยกำเนิด
สรุปการดูแลภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ ไม่มีภาวะเสี่ยง ให้การดูแลขณะตั้งครรภ์สม่ำเสมอ
การนัดตรวจตามปกติ
อายุครรภ์ <28 สัปดาห์
นัดทุก 4 สัปดาห์
อายุครรภ์ 28-36 สัปดาห์
นัดทุก 2-3สัปดาห์
อายุครรภ์>= 36 สัปดาห์
นัดทุก 1 สัปดาห์
เมื่อตรวจพบภาวะเสี่ยงเนื่องจาก
ติดเหล้า/บุหรี่/ยาเสพติดมีบุตรยาก,เคยผ่าตัดคลอด ความสูง < 140 ซม.กำลังป่วยด้วยโรคต่างๆ หรือ มีความผิดปกติของการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
ให้การดูแลพิเศษโดยแพทย์/แพทย์เฉพาะทาง
3.3.4 การนัดตรวจติดตาม
การนัดตรวจตามปกติ
อายุครรภ์ <28 สัปดาห์
นัดทุก 4 สัปดาห์
อายุครรภ์ 28-36 สัปดาห์
นัดทุก 2-3สัปดาห์
อายุครรภ์>= 36 สัปดาห์
นัดทุก 1 สัปดาห์
3.3.5 การให้ภูมิคุ้มกันโรค
กรณี: หมอตำแยหรือคลอดกันเอง
การตัดสายสะดือมักไม่สะอาดและยังใช้สิ่งสกปรกพอกสะดือ ทำให้ทารกมีโอกาสตายจากบาดทะยัก
ได้มาก
สตรีที่มารับบริการฝากครรภ์ทุกคน ควรได้รับการฉีด Tetanus toxoid
สตรีในระยะตั้งครรภ์ควรได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก 0.5 ml ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ อย่างน้อย 2 ครั้ง ตลอดการตั้งครรภ์
การให้วัคซีนป้องกันบาดทะยักจะให้ทั้งหมด 3 เข็ม
เข็มแรกเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก
เข็มที่ 2 ห่างจากเข็มแรก 4-6 สัปดาห์และควรฉีดก่อนอายุครรภ์ครบกำหนดอย่างน้อย 1 เดือน (เมื่ออายุครรภ์ได้ 36 สัปดาห์)
เข็มที่ 3 จะให้ห่างจากเข็มที่ 2 ประมาณ 6-12 เดือน ดังนั้น เข็มที่ 3 จึงมักจะนัดมารดามาฉีดในระยะหลังคลอด
3.3.6 การประเมินภาวะสุขภาพทารก
1.การตรวจนับจำนวนเด็กดิ้น (Fetal movement count : FMC)
เป็นสัญญาณการมีชีวิตอยู่ และเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ได้ดี
ความรู้สึกต่อการดิ้นของทารกในครรภ์
มารดาครรภ์แรกจะรู้สึกว่าทารกในครรภ์เริ่มดิ้นครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 18-20 สัปดาห์
ปกติพบว่าทารกในครรภ์จะดิ้นมากในช่วงเวลา 21.00-01.00 น. และเมื่อมารดารับประทานอาหารเสร็จใหม่ๆ
สัปดาห์ที่ 20 ทารกดิ้น 200 ครั้งจากการนับ 12 ชั่วโมงต่อวัน
สัปดาห์ที่ 32 ทารกดิ้น 575 ครั้งจากการนับ 12 ชั่วโมงต่อวัน
สัปดาห์ที่ 40 ทารกดิ้น 282 ครั้งจากการนับ 12 ชั่วโมงต่อวัน
การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ขึ้นอยู่กับวงจรหลับ-ตื่น
หลับนาน23นาที การเคลื่อนไหวจะมากเวลาตื่น ซึ่งเวลาเฉลี่ยนาน40นาที ดังนั้นทารกควรมีการเคลื่อนไหวให้ตรวจสอบได้ภายใน1ชั่วโมง
องค์ประกอบที่มีผลต่อการดิ้นของทารกในครรภ์
ระดับกลูโคสในเลือดของมารดา มื้ออาหารที่มารดาได้รับ การสูบบุหรี่ เสียงภายนอกที่มากระตุ้น แสง คลื่นเสียงความถี่สูง ท่าของมารดา และความสนใจของมารดาต่อการดิ้นของทารกในครรภ์
สตรีตั้งครรภ์ความเสี่ยงสูงทุกราย (high risk) นับเด็กดิ้นทุกวัน
การตั้งครรภ์เสี่ยงได้แก่ IUGR GDM
Post term Hypertensive disorder, PIH
Rh sensitization Hemoglobinopathies
Renal disease Cardiac disease
Decreased in FM Selected fetal anomalies
การนับเด็กดิ้นเป็นการตรวจคัดกรองสุขภาพทารกด้วยตนเองที่มีคุณค่ามาก สามารถลดอัตราการตายของทารกในครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นวิธีที่ทำได้ง่าย ไม่เสียค่าใช้จ่าย
วิธีการนับการดิ้นของทารกในครรภ์ (fetal movement count : FMC)
2 วิธีนับครบสิบ (count to ten)
นับจำนวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้ง ในเวลา 4 ชั่วโมง
4 ชั่วโมงแล้วไม่ครบ 10 ครั้งถือว่ามี DFM(Decrease of Fetal Movement)
เริ่มนับตั้งแต่อายุครรภ์ 28 – 32 สัปดาห์
วิธีของ Sadovsky, Yaffe, Wood และคณะ
นิยมใช้มากและใช้ ในปัจจุบันเป็นการนับและบันทึกการเคลื่อนไหวของทารกใน 1 วันเรียกว่า daily fetal movement record(DFMR)
หลังรับประทาน เช้า – เที่ยง – เย็น ครบ 1 ชม. รวมกันให้ได้ไม่น้อยกว่า 10 ครั้ง/วัน
เริ่มนับได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
ข้อดี ของ FMC ได้แก่ เป็นวิธีที่ง่ายหญิงตั้งครรภ์สามารถประเมินได้ด้วยตนเอง ไม่เจ็บปวดและไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ
ข้อเสีย ของ FMC ได้แก่ ความสับสนของจำนวนกาดิ้นของทารก ถ้าช่วงเวลาของการนับตรงกับระยะเวลาการหลับของทารก (sleep time) หรือยาบางตัวอาจมีผลต่อการดิ้นของทารก เช่น Methadone heroin, Alcohol อาจทำ
74
ให้แปลผลว่าทารกดิ้นน้อยลง
1การนับอย่างง่ายเรียกว่าkick count เป็นการตรวจสอบโดยให้สตรีตั้งครรภ์เองว่ามีการเคลื่อนไหวหรือไม่อย่างไร