Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน
ภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitivity reaction)
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 2
เกิดจากIgG, IgM ที่ผนังเซลของร่างกายไปจับกับ แอนติเจนที่อยู่บนผิวเซลเกิด Phagocytosis ของ target cell เกิดการ lysis จาก complement
เกิดขึ้นภายใน 15- 30 นาที
พบในภาวะการให้เลือดผิดกลุ่ม
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 3
ทำให้มีการกระตุ้นระบบ complement activation เกิดการรวมตัวกันของเม็ดเลือดขาวและเกิดความเสียหายต่อเนื้อเยื่อ
พบใน serum sickness, rheumatoid arthritis, systemic lupus erythematosus, Arthus reactions
ร่างกายถูกกระตุ้นจากแอนติบอดีรวมกับแอนติเจนจาก
ภายนอก antigen-antibody (immune) complexes
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 1
เกิดขึ้นเมื่อร่างกายสัมผัสแอนติเจน (Antigen) หรือสารก่อภูมิแพ้
(Allergen)
จะกระตุ้นการสร้าง antibody ที่จำเพาะต่อแอนติเจนนั้น
พบบ่อย
สปอร์เชื้อรา
ไรฝุ่น ฝุ่น
ละอองเกสร
ขนสัตว์ สารพิษจากแมลง
โปรตีนธรรมชาติ
อาการ
รวดเร็วภายใน 15-30 นาที อาจเกิดอันตรายถึงชีวิต
โรคหอบหืด(Allergic asthma)
จมูกอักเสบจากภูมิแพ้(Allergic rhinitis or Hay fever)
ลมพิษ (Urticaria)
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 4
เกิดขึ้นหลังจากได้รับสาเหตุของอาการแพ้ผ่านไปแล้ว 12 ชั่วโมง
Systemic Lupus Erythematosus: SLE โรคเอสแอลอี
การประเมินสุขภาพ
การตรวจร่างกาย
การตรวจ serology
ANA
coombes' test
LE cell
ซักประวัติ
การวินิจฉัย
ผื่น Discoid ในลักษณะเดียวกับที่พบในกลุ่ม Discoid lupus
ไวต่อแสงแดด หรือมีอาการแพ้แสงแดด (Photosensitivity)
ผื่นบริเวณโหนกแก้ม ลักษณะคล้ายปีกผีเสื้อ (Malar rash หรือ butterfly rash)
แผลในปาก (Oral ulcer)
ข้ออักเสบ (Arthritis)
ความผิดปกติทางไต มักตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria)
ความผิดปกติทางระบบประสาทที่หาสาเหตุไม่ได้ เช่น ชัก หรืออาการทางจิต
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ (Pleuritis) หรือเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ (Pericarditis)
โลหิตจาง
การตรวจเลือด แอนติบอดีต่อดีเอ็นเอ
การตรวจ Antinuclear antibodies (ANA) ในเลือดให้ผลบวก
เกิดจากมีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันชนิดที่ทำให้มีการสร้างแอนติบอดี้มาทำลายเนื้อเยื่อของร่างกาย
ทำให้เกิดการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective
tissue)
การรักษา
ยาต้านมาลาเรีย
Hydroxychloroquine sulfate หรือ Chloroquine
Corticosteroid ระวัง side effects
NSAIDs
Aspirin 325-650 มิลลิกรัม
Indomethacin
Diclofenac
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง (HIV infection and AIDS)
เอชไอวี
Uncoating and reverse transcription:
. Nuclear entry
Binding and entry
Integration and transcription
Translation, assembly and budding
การติดเชื้อเอชไอวี 3 ระยะ
ระยะสงบ (Clinical Latency Stage) ระยะติดเชื้อเรื้อรัง
เป็นระยะที่มีเชื้อโดยไม่แสดงอาการหรือ
อาจมีอาการเล็กน้อย
เป็นระยะที่การติดเชื้อเอชไอวีได้พัฒนาเป็นโรคเอดส์
มีการลดของปริมาณเซลล์ CD4 อย่างมาก
ระยะสุดท้ายคือ ระยะเอดส์เต็มขั้น (AIDS )
CD4 อย่างมากคือ ต่ำกว่า 200
ระบบภูมิคุ้มกัน
ถูกทำลายอย่างรุนแรงจนติดเชื้อฉวยโอกาส
(opportunistic infections, OI)
ระยะเฉียบพลัน (Acute HIV Infectious)
เป็นระยะแรกของการติดเชื้อเอชไอวี ช่วง 2-4 สัปดาห์
เชื้อไวรัสจะเพิ่มจำนวนอย่างมากทำให้เซลล์ CD4 ลดลงอย่างรวดเร็ว
มีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่
เช่น มีไข้ เจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองโต ปวดเมื่อยตามร่างกาย มีผื่น ปวดหัว
ระยะนี้จะแพร่กระจายเชื้อ แต่ยังไม่รู้ว่ามีการติดเชื้อ ไม่ได้ป้องกัน
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องมี2 ชนิด
แบบได้รับมาภายหลัง
แบบที่เป็นมาตั้งแต่กำเนิด
การประเมินสภาพ
การประเมินทางด้านจิตใจ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การซักประวัติ
อาการ ระยะเวลาการเกิดอาการ
การตรวจร่างกาย
การตรวจการติดเชื้อ HIV
การตรวจโดยใช้ชุดตรวจแอนติบอดีจำเพาะต่อเชื้อเอชไอวีและแอนติเจนของเชื้อพร้อมกันในน้ำยาเดียวกัน (HIV Ag/Ab combination assay)
การตรวจหาแอนติเจนหรือโปรตีนของเชื้อ
การตรวจ nucleic acid test (NAT)
การตรวจโปรตีนของเชื้อเอชไอว
การตรวจหาแอนติบอดี(Anti-HIV testing)
การรักษา
ยาต้านไวรัสเอดส์ในประเทศไทย มี 5 กลุ่ม
Protease inhibitors (PIs)
Integrase inhibitors (INSTI)
Non-nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NNRTIs)
CCR5 antagonists
Nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NRTIs)
ยาต้านไวรัส
Emtricitabine (FTC)
Lamivudine (3TC)
Efavirenz (EFV)
Tenofovir disoproxil fumarate (TDF)
Tenofovir alafenamide (TAF)
Abacavir (ABC)
แนวปฏิบัติในการรักษาเอชไอวี เอดส์
ยาป้องกันการติดเชื้ออื่น
เซลล์ CD4 < 150 cells/µL เสี่ยงติดเชื้อ Histoplasma capsulatum ให้ยา Itraconazole
เซลล์ CD4 < 100 cells/µL เสี่ยงติดเชื้อ Toxoplasma gondii ให้ยา Cotrimoxazole
เสี่ยงติดเชื้อ Taralomyces marneffei ให้ยา Itraconazole
-เซลล์ CD4 < 200 cells/µL เสี่ยงติดเชื้อปอดอักเสบจากเชื้อนิวโมซิสติส (Pneumocystis pneumonia, PCP) จาก Pneumocystis jeroveci
เซลล์ CD4 < 50 cells/mm เสี่ยงติดเชื้อ Mycobacterium avium complex (MAC) ให้ยา Azithromycin
เซลล์ CD4 < 50 cells/mm เสี่ยงติดเชื้อ Cryptococcus neoformans ให้ยา Fluconazole
มีผลบวกต่อเชื้อซิฟิลิส ต้องเจาะหลังตรวจน้ำไขสันหลังเพื่อดูว่าเชื้อซิฟิลิสเข้าสมอง
เมื่อทดสอบผิวหนังต่อเชื้อวัณโรค ถ้าหากให้ผล > 5 mm (คนปกติต้อง > 10 mm)จะต้องให้ยาป้องกันวัณโรค
ผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ทุกคนควรได้วัคซีนป้องกันโรคปอดบวมและไวรัสตับอักเสบบี
ยาต้านเอชไอวี
รักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีทุกจำนวนของ CD4 แม้จะมีCD4 > 500 cells/mm