Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน,…
บทที่ 4 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน
ภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitivity reaction)
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่1 (Type I ห รือ immediate hypersensitivity reaction,Anaphylactic hypersensitivity)
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 2 (Type II หรือ Antibody- dependent cytotoxic hypersensitivity หรือ Cytolytic hypersensitivity)
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 3 (Type III หรือ Immune complex-mediated hypersensitivity หรือ Allergic reaction หรือ Arthus Type กระตุ้นจากแอนติบอดีรวมกับแอนติเจนจากภายนอก antigenantibody (immune) complexes ทำให้มีการกระตุ้นระบบ complement activation เกิดการรวมตัวกันของเม็ดเลือดขาว
ภาวะภูมิไวเกินแบบที่ 4 (Type IV หรือ cell-mediated hypersensitivity) (delayed type)
ภูมิแพ้แบบช้า เกิดขึ้นหลังจากได้รับสาเหตุของอาการแพ้ผ่านไปแล้ว 12 ชั่วโมง โดยทั่วไป จะเกิดประมาณ 18-24 ชั่วโมง
การซักประวัติ
1 อาการระยะเวลาการเกิดอาการ และสิ่งกระตุ้นให้เกิดเช่นอาการคันบริเวณที่สัมผัสกับสารที่ทำให้แพ้
2 ประวัติอาการแพ้ในครอบครัวและประวัติการแพ้ของผู้ป่วย
3 ประวัติโรคหรือการได้รับยา เช่น ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAID ยาปฏิชีวนะ เช่น เป็นผื่นคันทั่วตัว หน้าบวม
4 การรับรู้ของผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคหรือความเจ็บป่วยและการดูแลสุขภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการการตรวจพิเศษ
1 Complete blood count with differential ได้แก่ การตรวจ Eosinophils ( ปกติ 1-3% ของจำนวน WBC ทั้งหมด) ถ้าเพิ่มเป็น 5% - 15% แสดงว่ามีภาวะภูมิแพ
2 Eosinophil count เป็นการนับจำนวน Eosinophilในเลือดโดยตรงและนับจากสารคัดหลั่งเช่นจากจมูกเยื่อบุตา
Total serum Immunoglobulin E level (IgE level) เป็นการตรวจหาระดับ IgE ในเลือด ซึ่งการตรวจพบ IgE ในระดับสูงแสดงถึงภาวะ Atopic disease
4 การทดสอบทางผิวหนัง (Skin test) โดยการฉีดสารก่อภูมิแพ้ที่ผิวหนัง ข้อห้ามในการทดสอบ คือ ระยะที่มีอาการกำเริบซึ่งมีภาวะหดเกร็งของหลอดลม
Prick skin tests ในการวินิจฉัย delayed-type hypersensitivity โดยหยดAntigen extract ลงบนผิวหนัง ล้วใช้เข็มสะกิดผิวหนังให้สารซึมผ่าน epidermis รออ่านผล 15 นาที
Intradermal skin testing ทดสอบโดยฉีดน้ำยาที่เป็นสารกระตุ้นการแพ้เข้าสู่ชั้นผิวหนัง (เช่น Penicillin) โดยฉีดยาเข้าผิวหนัง 0.01-0.05 มิลลิลิตรเมื่อเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ภายใน 5 นาที
Patch test ตรวจโดยให้ผิวหนังสัมผัสสารที่ทำให้เกิดการแพ้โดยตรง โดยใช้แผ่นทดสอบที่มีสาร ที่ใช้ทดสอบ (Standard patch test) ประมาณ 20-23 ชนิด ปิดบนผิวหนังที่ใช้ทดสอบ นิยมใช้ที่หลัง ระหว่างกระดูกสะบักทั้ง
การรักษา
หยุดสิ่งที่ทำให้แพ้
ยา epinephrine/ ยา beta2 adrenoceptor agonist เช่น salbutamol
ยา antihistamines และ/หรือ corticosteroids
ในรายที่อาการฉุกเฉินต้องติดตามอาการใกล้ชิด
การรักษาเฉพาะ ภูมิไวเกินแบบที ่ 1: Allergen immunotherapy เป็นการ desensitizing ฉีดเพิ่มขึ้นทีละน้อยทำให้มีการกระตุ้นการทำงาน
การพยาบาล
1.ประเมินภาวะแพ้รุนแรง ได้แก่ คัน ตัวแดง ผื่น หน้าบวม หายใจมีเสียงวิ๊ด หอบเหนื่อย คลื่นไส้อาเจียน
ประเมินสัญญาณชีพ ลักษณะการหายใจและภาวะพร่องออกซิเจน เช่น กระสับกระส่าย
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนยาและสารน ้าทางหลอดเลือดด าตามแผนการรักษา ซึ่ง ยาที่ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการแพ้
ได้แก่ Bronchodilator, Antihistamine และ Epinephrine
ติดตามประเมินและบันทึกการเปลี่ยนแปลงภายหลังได้รับการรักษ
ดูแลใกล้ชิดหากแพ้รุนแรงจนเกิด Anaphylactic shock จะทำให้เวียนศีรษะ หมดสติ ความดันต่ำปัสสาวะออกน้อย < 30 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง
โรคเอสแอลอี (Systemic Lupus Erythematosus: SLE)
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
อาการระยะเวลาการเกิดอาการและสิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการเช่น แสงแดด ความเครียดการติดเชื้อ สารเคมีเช่น น้ำยาย้อมผม ยาบางชนิด เป็นต้น
ประวัติความเจ็บป่วยในครอบครัวและโรคทางพันธุกรรม
ประวัติโรคหรือการได้รับยา เนื่องจากการติดเชื้อเช่น ไวรัสตับอักเสบซี และการใช้ยาหรือสารเคมี เช่น Hydralazine, Procainamide, Quinidine, Chlopromazine, Isoniazid, Methyldopa
การรับรู้ของผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคหรือความเจ็บป่วยและการดูแลสุขภาพเนื่องจากโรคนี้เป็นโรคเรื้อรังและมีผลกระทบต่อร่างกายหลายระบบ
การตรวจจากห้องปฏิบัติการ
Antinuclear antibody (ANA) หรือ Anti-nuclear factor (ANF) เป็นการตรวจหาแอนติบอดีต่อส่วนประกอบในนิวเคลียสของเซลล์ (ANA) ซึ่งในผู้ป่วยเอสแอลอีพบผลบวก 95%
Anti-DNA, Anti-double-standard DNA (Anti-ds DNA) Anti-Smith (Anti-Sm) การตรวจหาแอนติบอดีที่
เฉพาะเจาะจงต่อเอสแอลอี ซึ่งจะพบผลบวก
CBC เพื่อตรวจหา anemia, leucopenia, leukocytosis หรือ thrombocytopenia
Erythrocyte Sedimentation Rate (ESR) และ C-reactive protein (CRP) เมื่อมีการอักเสบจะมีระดับสูง
การตรวจพิเศษเพื่อค้นหาภาวะแทรกซ้อน ได้แก่การเอกซเรย์ทรวงอกการอัลตร้าซาวด์หัวใจ การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การรักษา
NSAIDs เช่น Diclofenac, Indomethacin ใช้ในรายที่อาการไม่รุนแรง เพื่อลดปวดและควบคุมอาการอักเสบ
ยาต้านมาลาเรีย เช่น Hydroxychloroquine sulfate หรือ Chloroquine รักษาอาการปวดข้อ อาการผื่นที่
ผิวหนัง แผลในปาก
Corticosteroid ชนิดรับประทานหรือชนิดฉีดหากอาการรุนแรงหรือเมื่อใช้ยา NSAIDs และ Antimalarials แล้ว
ไม่ได้ผล โดยจะใช้ขนาดสูง เช่น Prednisolone 8-12 เม็ด/ วัน
ให้ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressant) เมื่อมีอาการทางไตหรือการอักเสบของกล้ามเนื้อและข้ออย่างรุนแรง
ยาที่ใช้ได้แก่ Cyclophosphamide (Cytoxan), Methotrexate (Rheumatrex),Cyclosporine (Neoral) ซึ่งยา
การพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงการติดเชื้อ เฝ้าระวังการติดเชื้อ
อธิบายให้เข้าใจถึงความเสี่ยงต่อการติดเชื้อให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาการและการป้องกันการติดเชื้อ
แนะนำให้หลีกเลี่ยงเข้าใกล้ผู้ที่ติดเชื้อโดยเฉพาะโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจและโรคติดเชื้อของผิวหนัง
หลีกเลี่ยงแสงแดดและทาครีมกันแดดที่มี SPF 30 ขึ้นไปเพื่อป้องกันรังสียูวี (UV) จากแสงแดด ระคายเคืองผิวหนัง ควรสวมเสื้อแขนยาวและสวมหมวก
อธิบายการดูแลตนเองที่จำเป็นในระยะต่างๆ ของโรค เช่น ผู้ป่วยที่ มีการอักเสบของข้อควรรับประทานยาแก้ปวดข้อและยาลดอักเสบสม่ำเสมอ
ให้คำแนะนำการดูแลผิวหนังเพื่อบรรเทาอาการและป้องกันอาการ
การติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์(HIV infection and AIDS)
การประเมินสภาพ
อาการ ระยะเวลาการเกิดอาการซึ่งแตกต่างกันในแต่ละรายเนื่องจากเอชไอวีมีหลายระยะ เช่น ผู้ป่วยที่อยู่
ในระยะที่มีอาการ (HIV symptomatic, CDC category B)
ประวัติความเจ็บป่วยในครอบครัว การติดเชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จึงควรซัก
ประวัติอาการเจ็บป่วยของคู่สมรสหรือคู่นอนร่วมด้วย
ประวัติการเจ็บป่วยการได้รับยาการใช้สารเสพติดโดยเฉพาะฉีดยาเข้าเส้นเลือด อาชีพและพฤติกรรมเสี่ยง
ประวัติรักร่วมเพศ (Homosexual) รักสองเพศ (Bisexual)
ประวัติถูกของมีคมทิ่มตาการใช้สิ่งของมีคมร่วมกับผู้อื่น เช่น ใบมีดโกน แปรงสีฟัน อุปกรณ์ทำเล็บ แต่งเล็บ
การรับรู้ของผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคหรือความเจ็บป่วยและการดูแลสุขภาพเช่น สาเหตุ อาการ ความเสี่ยงต่อ
การเกิดอาการความรุนแรง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจคัดกรอง (screening tests) หรือ ตรวจเบื้องตน (initial tests) สeหรับตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อเอชไอวี ผู้ที่ติดเชื้อเอชไอวีในระยะที่ยังไม่พบแอนติบอดี (window perio)
การตรวจหาแอนติบอดี(Anti-HIV testing)
การตรวจหาแอนติเจนหรือโปรตีนของเชื้อ
การตรวจ nucleic acid test (NAT)
การตรวจโปรตีนของเชื้อเอชไอวี (p24)
การรักษา
Nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NRTIs) ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์รีเวิร์สทรานสคริปเตสซึ่งช่วยสร้าง DNA ให้แก่เชื้อ ส่งผลทำให้การเชื่อมต่อ DNA ของเชื้อหยุดชะงัก
Non-nucleoside reverse transcriptase inhibitors (NNRTIs) ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์รีเวิร์สทราน
สคริปเตส เช่นเดียวกับยากลุ่ม NRTIs ยากลุ่มนี้ได้แก่ Nevirapine (NVP), Efavirenz (EFV)*, Etravirine (ETR)
Protease inhibitors (PIs) ยับยั้งเอนไซม์โปรติเอสทำให้กระบวนการสร้างส่วนประกอบโปรตีนของเชื้อไม่
สมบูรณ์จึงยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อยากลุ่มนี้ ได้แก่ Lopinavir/ritonavir(LPV/r), Atazanavir (ATV),
Integrase inhibitors (INSTI) รบกวนการท างานของเอมไซม์อินทีเกรซของเชื้อ มีผลยับยั้งกระบวนการอินทีเกรชั่นหรือกระบวนการเชื่อมต่อสายพันธุกรรมของเชื้อและของเซลล์ CD4 ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ raltegravir
CCR5 antagonists ยับยั้งไม่ให้เชื้อเกาะที่เม็ดเลือดขาว (Attachment inhibitor): maraviroc ทั้งนี้การรักษาด้วยยาต้านไวรัส HIV
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา
อธิบายเกี่ยวกับเรื่องโรคการติดต่อการป้องการแพร่กระจายเชื้อแผนการรักษาและแนวทางในการดูแลตนเองให้แก่ผู้ป่วยและญาติประเมินความเข้าใจของผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคและระยะของโรค
สังเกตและประเมินลักษณะ/ความถี่การถ่ายอุจจาระ เก็บส่งตรวจ
สังเกตและประเมินอาการ/อาการแสดงภาวะขาดน้ำและไม่สมดุลเกลือแร่
เลี่ยงอาหารกระตุ้นการทำงานของลำไส้: รสจัด รสมัน ทอด
ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอทั้งทางปากและทางหลอดเลือดดำ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่นค่าแรงดันก๊าซในหลอดเลือดแดง (ABG) เพื่อประเมินความก้าวหน้าของโรค
ประเมินการติดเชื้อในร่างกาย
เกิดขึ้นเมื่อร่างกายสัมผัสแอนติเจน (Antigen) หรือสารก่อภูมิแพ้ (Allergen) จะกระตุ้นการสร้าง antibody