Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหารส่วนล่าง
Diverticulitis
สาเหตุจากการรับประทานอาหารกากใยนอยหรือรับประทานคารโบไฮเดรตมาก
Ulcerative colitis
โรคเยื่อบุลำไส้ใหญ่อักเสบโดยไม่ทราบสาเหต
Bowel obstruction
เกิดจากลำไส้เป็นอัมพาต (Paralysis ileus) หรือลำไส้ตาย (Infarction) จากหลอดเลือดอุดตัน
Appendicitis
เกิด
การที่มีเศษอุจจาระแข็ง (fecalith)
การบวมของผนังลำไส
Hernia
เป็นภาวะที่มีบางส่วนของลำไส้ เคลื่อนออกมานอกช่องท้อง
Gastroenteritis
อาการ ท้องเสีย คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง มีไข้ เบื่ออาหาร ท้องอืด อาการท้องเสีย
การรักษา
การรได้รับสารน้ำและเกลือแร่ทดแทน
รับประทานอาหาร Carbohydrate complex
ให้ยารักษาตามอาการ
ใช้ยาต้านจุลชีพ
เกิดจากการติดเชื้อเข้าสู่ร่างกาย
Polyps
เกิดจากสารพิษที่อยู่ในกากอาหารที่รับประทานอาหารเข้าไปเป็นเวลานาน
การประเมินผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติในระบบทางเดินอาหาร
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจเลือด
liver function test, LFT
ดู Serum protein ดูค่า albumin,
prealbumin, transferrin, liver enzyme
เช่น SGOT, SGPT
CBC
การอักเสบ/ ติดเชื้อ
ดูภาวะซีด
serum Amylase และ Lipase
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจอุจจาระ
การวัดแรงดันในหลอดอาหาร
การตรวจหาแบคทีเรีย
การวิเคราะห์กระเพาะอาหาร
การตรวจลำไส้เล็กด้วยการกลืนแคปซูล
การส่องกล้องตรวจ
การตรวจคลื่นความถี่สูง
การตรวจผ่าน Laparoscopy
การตรวจทางรังสี
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกาย
การตรวจช่องปาก
การตรวจท้อง
สภาพทั่วไป
สัญญาณชีพ
การซักประวัติ
อาการสำคัญและประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
ถ่ายเหลว (Diarrhea)
คลื่นไส้ อาเจียน (Nausea and vomiting)
ปวดท้อง (Abdominal pain)
ความอยากอาหารลดลง (Loss of appetite)
ข้อมูลส่วนบุคคล เช่น อายุ เพศ รายได้ อาชีพ ภูมิลำเนา
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ประวัติส่วนตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหารส่วนบน
Peptic ulcer
เกิดจากการทำลายเยื่อบุทางเดินอาหารซึ่งสัมผัสกับกรดและน้ำย่อยของกระเพาะอาหาร
สาเหตุ
ปัจจัยด้านการคุกคาม
การติดเชื้อ
ปัจจัยด้านการป้องกัน
ต้านทานของเยื่อบุ
อาการ
ปวดแน่นใต้ลิ้นปี่ (dyspepsia) โดยปวดแบบ aching
ภาวะแทรกซ้อน
การมีเลือดออก แผลทะล
Gastrointestinal bleeding
การมีเลือดออกที่ลำไส้เล็กตั้งแต่บริเวณ Ampulla of Vater จนถึงลำไส้เล็กส่วนไอเลียม
ส่วนเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนล่าง หมายถึงเลือดออกจาก
บริเวณลำไส้ใหญ่ทั้งหมด
การรักษา
การให้เลือด เจาะเลือด
การห้ามเลือด
การให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทน
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ให้เหมาะสมกับโรคนั้นๆ
การรักษาเฉพาะ
Gastritis
การอักเสบของเยื่อบุกระเพาะอาหาร (gastric mucosa) จากการระคายเคือง
อาการ
ปวดแน่นใต้ลิ้นปี่หลังอาหาร ปวดท้องแบบ gnawing, burning ปวดบิด เรอ ขย้อน
การรักษา
ยา
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ทำ gastric lavage ตรวจหา pH
ปรับพฤติกรรม ลดภาวะเครียด
Esophageal cancer
เกิดการตีบแคบ หรือรูทะลุของหลอดอาหาร (tracheoesophageal fistula) ทำให้สำลักได้ง่ายและอุดตัน
การรักษาเนื้องอกหลอดอาหาร
การผ่าตัด
รังสีรักษา
เคมีบำบัด
การบำบัดด้วยแสง
โภชนาการ
พบบ่อยในเพศชาย อายุ 50-70 ปีพบมากชนิด
squamous cell
GERD
อาการ
ปวดแน่นลิ้นปี่
แสบหน้าอก และขย้อน
ภาวะแทรกซ้อน
การมีเลือดออก ซีด หลอดอาหารตีบ
ภาวะกรดไหลย้อน หูรูดส่วนปลายหลอดอาหาร ปิดไม่สนิท
Gastric cancer
ส่วนใหญ่เป็นชนิด adenocarcinoma
การรักษา
การผ่าตัด
รังสีรักษาเพื่อบรรเทาอาการ
การคงภาวะโภชนาการทาง TPN, อาหารทาง ostomy
ยาเคมีบำบัด หลังผ่าตัด
พบไม่บ่อยแต่ร้ายแรง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับและทางเดินน้ำดี
Liver cancer
ระยะโรคมะเร็งตับ
ระยะที่ 2 : มีการลุกลามของก้อนเนื้อเข้าหลอดเลือดในตับ และ/หรือ มีก้อนเล็กๆหลายก้อน
ระยะที่ 3 : ก้อนเนื้อมะเร็งโตมาก และ/หรือ ลุกลามเข้าเนื้อเยื่อข้างเคียงตับ
ระยะที่ 1 : ก้อนเนื้อมะเร็งมีขนาดเล็ก และมีเพียงก้อนเนื้อเดียว
ระยะที่ 4 : โรคมะเร็งแพร่กระจายตามกระแสเลือด มักเข้าสู่ตับกลีบอื่นๆ และปอด สมอง กระดูก
อาการ
แน่นอึดอัดท้อง ปวดท้อง
ด้านขวาตอนบน(ตำแหน่งของตับ)
สาเหตุ
ปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งตับชนิด CCA
ปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งตับชนิด HCC
ภาวะแทรกซ้อน
้อนมะเร็งอาจมีการแตก ทำให้มีการตกเลือด
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
มะเร็งตับอาจแพร่กระจายไปทั่วท้อง และอวัยวะต่างๆ
เลือดออกง่าย
Liver abscess
เกิดจากตับติดเชื้อและเกิดมีฝี/หนองขึ้นในตับ
อาการ
จะมีไข้ อาจจะหนาวสั่น อาจปวดที่ชายโครงขวา ตัว
เหลืองตาเหลือง
ปวดท้องเหมือนปวดบิด (colicky pain) จากฝีแตก
อุจจาระเป็นมูกเลือดมา
ก่อน
ภาวะแทรกซ้อน
โพรงฝีแตกทะลุเข้าไปในอวัยวะข้างเคียง
Cholecystitis, Cholelithiasis
เกิดจากนิ่วที่เกิดจากโคเลสเตอรอลและแคลเซียม
ถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน
ตรวจเลือดจะพบ WBC สูงเล็กน้อย
พบเชื้อโดยเฉพาะเชื้อที่มาจากลำไส้ เช่น อี โคโล (E.Coli)
Hepatic
failure
เกิดจากตับสูญเสียการทำงาน
เกิดจากการที่เซลล์ตับได้รับบาดเจ็บเสียหายอย่างรุนแรง จนไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
Pancreatitis
เกิดจากตับอ่อนถูกทำลายหรือถูกย่อยจากน้ำย่อยที่สร้างจากตับอ่อนโดยเฉพาะ trypsin
อาการ
ปวดท้องบริเวณลิ้นปี่อย่างรุนแรงเกิดขึ้นทันทีทันใด
จมีท้องอืด แน่นท้อง มีไข
ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน (Acute pancreatitis)
Alcohol
สาเหตุอื่นๆ
Gall stones
ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง
เกิดจากการดื่มเหล้าจัด ทำให้เกิดตับอ่อนอักเสบซ้ำๆ จนเนื้อตับอ่อนถูกทำลายมาก
อาการ
ท้องเสียเรื้อรัง
เกิดอาการของโรคเบาหวานร่วม
) โรคแทรกซ้อนของตับอ่อนเรื้อรัง
ปวดท้อง
Cirrhosis
สาเหตุจาก การดื่มสุราเรื้อรัง และการติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบชนิดบีและซีเรื้อรัง
ภาวะความดันสูงในระบบหลอดเลือดดำของตับ
หลอดเลือดดำโป่งขอด
ท้องมานน้ำ (Ascites)
อาการทางสมองจากโรคตับ
Pancreatic cancer
เกิด
จากเซลล์ต่อมมีท่อ
อาการ
ตาเหลือง
ปัสสาวะสีเข้ม
การรักษา
การรักษาโดยใช้ targeted therapy
การรักษาตามอาการ การให้ยาแก้ปวด
การฉายรังสีรักษา
การผ่าตัด
การให้ยาเคมีบำบัด
Hepatitis
โรคตับอักเสบเฉียบพลัน (acute hepatitis)
โรคตับอักเสบที่เป็นไม่นาน
มีอาการ 2-3 สัปดาห์โดยมากไม่เกิน 2 เดือน
โรคตับอักเสบเรื้อรัง (chronic hepatitis)
ตับอักเสบที่เป็นนานกว่า 6 เดือน
เหนื่อย อ่อนเพลียง่าย
มักจะเกิดจากไวรัสตับอักเสบชนิดบี ชนิดซี และชนิดด
ภาวะที่มีการอักเสบเกิดการทำลายของเซลล์ตับ
ตับอักเสบจากติดเชื้อ
(Hepatitis A Virus, HAV
(Hepatitis B Virus, HBV
(Hepatitis C Virus, HCV
Hepatitis D Virus, HDV
ตับอักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
(Alcoholic Hepatitis
ตับอักเสบจากการใช้ยาและสารพิษ
กลุ่มยาแก้ปวด/ยาลดไข้