Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chronic kidney Disease (CKD) ไตวายเรื้อรัง - Coggle Diagram
Chronic kidney Disease (CKD) ไตวายเรื้อรัง
ระยะที่ 1 eGFR มากกว่า 90 ml/min/1.73 m2
ระยะที่ 2 eGFR ช่วง 60-89 ml/min/1.73 m2
ระยะที่ 3a eGFR มากกว่า 49-59 ml/min/1.73 m2
ระยะที่ 3b eGFR ช่วง 30-49 ml/min/1.73 m2
ระยะที่ 4 eGFR ช่วง 15 - 29 ml/min/1.73 m2
ระยะที่ 5 eGFR น้อยกว่า 15 ml/min/1.73 m
ผล eGFR ของกรณีศึกษา เท่ากับ 3
initial phase ระยะเริ่มต้นพบการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเลือดในหลอดเลือดที่ลดลงกระทันหันทำให้เนื้อไตขาดเลือดไปเลี้ยง ส่วนมากพบสาเหตุแบบ prerenal AKI1 ร่างกายจะตอบสนองด้วยการทำงานของSympathetic nervous system หลั่งสารephrimephin เกิดหลอดเลือดหดลัดตัวทั่วร่างกายเพื่อส่งเลือดไปเลี้ยง Vital organs เลือดจึงมาเลี้ยงไตลดอัตราการกรองจึงลดลงปัสสาวะจึงออกน้อย
Maintenance phase เนื้อไตถูกทำลายจากการขาดเลือดหรือสารพิษหลอดเลือดฝอยที่ไตอุดตัน และเนื้อไตตายเป็นบางส่วนมีการหลุดลอกของเยื่อบูเซลล์มาอุดกั้นตามหลอดเลือดที่ท่อไตเพิ่มมากขึ้นเกิด back leak(รั่วไหล) เข้าสู่ collecting systemของปัสสาวะคือ eGFRลดลงอย่างรวดเร็ว ปัสสาวะออกน้อย เกิดภาวะazotemiaที่มีการเพิ่มขึ้นของBUN, Cr อย่างรวดเร็วจนเกิดการคั่ง เกิด water access ,mineral andacid -base imbalance
Recovery phase เป็นระยะการฟื้นตัวปกติหลังจากที่ได้รับการรักษามีการซ่อมแซมของเนื้อเยื่อและหลอดเลือดที่ไต บริเวณที่ฟื้นฟูไม่ได้จะพบเนื้อตายในส่วนที่สามารถฟื้นฟูได้จะทำหน้าที่ผลิตปัสสาวะและขับ BUN, Cr ออกมาปกติ
Chronic kidney Disease (CKD) ไตวายเรื้อรัง
Acute Glomerulonephritis ไตอักเสบเฉียบพลัน
จากไตเรื้อรัง
เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้น ปริมาณของเซลที่มี การอักเสบที่เพิ่มขึ้น และความสามารถในการผ่านของสารในเซลล์(basement membrane permeability) ที่ลดลงทำให้พื้นที่การกรอง (glomerular filtration surface) และอัตราการกรอง (glomerular filtration rate: GFR ลดลง ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงที่ไตจะลดลงในอัตราส่วนเดียวกับอัตราการกรอง
End Stage Renal Disease (ESRD) โรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย
เกิดจากการเสื่อมของไต และการถูกทำลายของหน่วยไต มีผลทำให้การกรองทั้งหมดลดลงและการขับถ่ายของเสียลดลงปริมาณ Creatinine และ BUN ในเลือดสูงขึ้น หน่วยไตที่เหลืออยู่จะเจริญมากผิดปกติเพื่อกรองของเสียที่มีมากขึ้น
ผลที่เกิดขึ้นคือทำให้ไตเสียความสามารถในการปรับความเข้มข้นของปัสสาวะ ปัสสาวะถูกขับออกไปต่อเนื่อง หน่วยไตไม่สามารถดูดกลับเกลือแร่ต่างๆ ทำให้สูญเสียเกลือแร่ออกจากร่างกาย เมื่ออัตราการกรองของไตน้อยกว่า 10-20 มล./นาที่ ส่งผลให้เกิดการคั่งของยูเรียในร่างกายเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ในที่สุด ดังนั้นเมื่อเข้าสู่ระยะดังกล่าวผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไต
การวินิจฉัยโรค
การตรวจร่างกาย
ผู้ป่วยอาจจะไม่มีอาการแสดง แต่เมื่อไตเริ่มเสื่อมมากขึ้นผู้ป่วยจะปัสสาวะกลางคืนบ่อย เนื่องจากไตไม่สามารถดูดน้ำกลับ ผู้ป่วยยังมีอาการเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย และอาการระบบต่างๆที่กล่าวมาข้างต้น
ผลตรวจท่างห้องปฏิบัติการ
BUN หรือ Blood Urea Nitrogen (ไนโตรเจนจากสารยูเรียที่มีอยู่ในกระแสเลือด)
Cr หรือ Creatinine ( การตรวจสอบสมรรถภาพการทำงานของไต)
eGFR (การกรองของไต)
ผลแลปของกรณีศึกษา
BUN = 69.9 ค่าปกติ 7.0-17.0
Creatinine = 13.17 ค่าปกติ 0.50-0.90
eGFR = 3[STAGE 5]
การรักษา
การบำบัดทดแทนไต ( Renal Replacement Therapy )
การฟอกเลือด (Hemodialysis)
การฟอกเลือด (Hemodialysis) นำเลือดออกจากร่างกายผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ผ่านเข้าเครื่องไตเทียมแล้ว ให้เครื่องทำการฟอกเลือดเหมือนกับไตที่ทำหน้าที่ตามปกติ เมื่อเครื่องไตเทียมทำหน้าที่ฟอกเลือดแล้ว จึงนำเลือดกลับเข้าสู่ร่างกายผู้ป่วยในระบบที่ปราศจากการปนเปื้อน เครื่องฟอกเลือดหรือเครื่องไตเทียม ใช้ตัวกรองช่วยทำให้เลือดสะอาด อีกทั้งยังช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนของเสีย เกลือแร่ ระหว่างเลือดกับน้ำยาฟอกเลือด ในขณะที่เลือดไหลผ่านตัวกรอง โดยทั่วไปกระบวนการฟอกเลือดใช้เวลาครั้งละ 4-5 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง เนื่องจากต้องใช้เครื่องไตเทียมในการฟอกเลือดทุกครั้ง จึงต้องทำที่โรงพยาบาลหรือศูนย์ไตเทียม โดยมีพยาบาลและเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญดูแลอย่างใกล้ชิด )
ประโยชน์ที่ได้รับจากเครื่องไตเทียม พบ ว่าอาการอันเกิดจากการคั่งของเกลือ และของน้ำ ได้แก่ อาการบวม หอบ เหนื่อย นอนราบไม่ได้ จะดีขึ้นอย่างรวดเร็ว เห็นได้ภายใน 1-2 วัน ความดันโลหิตที่เคยสูงอยู่ก่อนนั้นจะลดลงและควบคุมได้ดีขึ้น หากมีภาวะหัวใจล้มเหลว อาการจะดีขึ้นอย่างชัดเจนภายใน 1-3 วัน อาการหอบเหนื่อย อันเกิดจากเลือดเป็นกรด จะดีขึ้นอย่างรวดเร็วภายในเวลา 1-3 วัน ส่วนอาการอันเกี่ยวข้องกับระบบประสาท ได้แก่ มึนงง สับสน ไม่รู้สติ กระตุก หรือชัก รวมทั้งอาการของระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ อาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหารจะดีขึ้นภายใน 2-4 วัน
การล้างไตทางช่องท้อง (Peritoneal dialysis)
วิธีนี้ใช้สายยางฝังไว้ในช่องท้องอย่างถาวร และใส่น้ำยาเข้าไปในช่องท้อง เพื่อล้างเอาของเสียในเลือดออก ต้องเปลี่ยนถ่ายน้ำยาวันละ 4-5 ครั้ง ทุกวันวิธี นี้มีข้อดีที่ทำเองที่บ้านได้ แต่มีข้อเสียที่อุบัติการการติดเชื้อในช่องท้องสูงเมื่อทำไปนานๆ และมีการสูญเสียโปรตีนออกมาทางน้ำยามากในแต่ละวัน อาจเกิดภาวะขาดอาหารถ้ารับประทานอาหารไม่เพียงพอ การล้างไตทางช่องท้องเป็น วิธีการที่ใช้น้ำยาล้างไตใส่เข้าไปในช่องท้อง โดยให้ผนังเยื่อบุช่องท้องรับหน้าที่เป็นตัวกรองฟอกเลือด แยกระหว่างส่วนของเลือดกับน้ำยาล้างไตเนื่องจากผนัง บุช่องท้องมีลักษณะเป็นเนื้อเยื่อบางๆ บุอยู่ภายในช่องท้อง โดยที่ช่องท้องนั้นมีลักษณะคล้ายถุงบรรจุอวัยวะต่างๆ ทั้งกระเพาะอาหาร ลำไส้ ตับ ส่วนน้ำยาล้างไตที่ใส่เข้าไปนั้นก็จะอยู่ในถุง ส่วนของเลือดก็คือเส้นเลือดต่างๆ ที่อยู่ตามผิวของเยื่อบุช่องท้องและลำไส้ โดยมีผนังบุช่องท้องเป็นตัวกั้นและทำหน้าที่กรอง เมื่อใส่น้ำยาล้างไตเข้าไปในช่องท้องแล้วทิ้งไว้สักระยะ ของเสียในเลือดที่มีความเข้มข้นสูงกว่าน้ำยาล้างไต ก็จะมีการแพร่กระจายผ่านเยื่อบุช่องท้องเข้ามาอยู่กับน้ำยาล้างไต ทำให้ของเสียในเลือดลดลง เมื่อถ่ายน้ำยาล้างไตออกทิ้ง ของเสียในเลือดก็จะถูกกำจัดออกไป ทำเช่นนี้ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ ของเสียในเลือดก็จะลดปริมาณลง
การปลูกถ่ายไต (Kidney transplantion)
การปลูกถ่ายไต คือการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย โดยการใช้ไตจากผู้อื่น (ซึ่งผ่านการตรวจแล้วว่าสามารถเข้ากันได้) ให้มาทำหน้าที่แทนไตเก่าของผู้ป่วยที่สูญเสียหน้าที่ไปอย่างถาวรแล้ว ปัจจุบันถือเป็นการรักษาที่ดีที่สุดสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายทั้งในวัยเด็กและผู้ใหญ่ เนื่องจากถ้าไตใหม่ทำหน้าที่ได้ดีแล้ว สามารถทดแทนไตเดิมได้สมบูรณ์ คุณภาพชีวิตจะดีขึ้น รวมทั้งอายุที่ยืนยาวกว่าการรักษาทดแทนไตโดยวิธีอื่น ไม่ว่าจะเป็นการฟอกเลือด หรือการล้างไตทางผนังหน้าท้อง
กรณีศึกษารับการรักษาด้วยวิธีล้างไตทางหน้าท้อง แล้วเกิดการติดเชื้อจึงมาทำการฟอกเลือดที่โรงพยาบาล
การเปลี่ยนแปลง/อาการ
เกิดภาวะโพแทสเชียมในเลือดสูงHyperkalemia
Hyperkalemia + ความไม่สมดุลของอิเล็กโตไลต์
อาการของ Hyperkalemia
ปัสสาวะออกน้อย
2.ปัจจัยร่วม เช่น ติดเชื้อ เลือดออกทางเดินอาหาร
การรับประทานอาหารได้น้อย ขาดสารอาหารที่จำเป็นต้องใช้ในเม็ดเลือดแดงและขาดฮออร์โมน erythropoietin ที่กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดงของไขกระดูกทำให้เม็ดเลือดแดงมีจำนวนน้อยลง
เกิดภาวะโลหิตจาง Anemia
ไตไม่สามารถขับของเสียจากการเผาผลาญออกได้ทำให้ระดับ BUN, Cr ในเลือดสูงมีอาการและอาการแสดงของภาวะ Uremia
Uremia คือ ภาวะของเสียคั้ง เช่น เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
ตามระบบต่างๆ
ระบบผิวหนัง
มีอาการซีดจากภาวะโลหิตจางทำให้ผิวเป็นสีเหลือง น้ำตาล
พิษของ uremia + การเสื่อมของปลายประสาท
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การคั่งของโซเดียมและน้ำและการหลั่ง renin เพิ่มมากขึ้น ➡️ Hyperkalemia + ความไม่สมดุลของอิเล็กโตไลต์
Renin คือ เอนไซม์ที่ควบคุมความสมดุลของการสร้าง Aldosterone
Aldosterone คือฮอร์โมนที่ถูกสร้างจากต่อมหมวกไตเมื่อเกิดการหลั่งออกมามากเกินไป
ส่งผลให้เกิดอันตรายต่อเยื้อบุหลอดเลือดโดยตรง และมีการรวมตัวกันของ lipoprotein ที่ผนังหลอดเลือดมากขึ้น ทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดแข็งตัว (atherosclerosis)
ทำให้เกิดหัวใจขาดเลือด
ภาวะน้ำเกิน
เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
ระบบประสาท
เกิดจากพิษของ uremia และความไม่สมดุลของน้ำ อิเล็กโทรไลต์ และกรด-ด่าง ทำให้เกิดอาการปวดศรีษะ อ่อนเพลีย ง่วงซึม และความผิดปกติของระบบประสาทส่วนปลายทั้งการรับความรู้สึก (sensory) การสั่งการ (motor) มักเริ่มที่ขาทั้ง 2 ข้าง ทำให้มีอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ระบบทางเดินอาหาร
เกิดจากภาวะ uremia
มีกลิ่นปากเฉพาะ คือ uremic fetor
เกิดการระคายเคืองในทางเดินอาหาร + เลือดออกในทางเดินอาหาร
ระบบหายใจ
มีภาวะน้ำเกินทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมปอด ➡️ ภาวะ uremia
ภาวะน้ำเกิน เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ electrolyte ทำให้เกิดความไม่สมดุลของ electrolyte เนื่องจากไตสูญเสียหน้ที่ในการดูดกลับและ ขับออกของน้ำ โซเดียม โปตัสเชียม และแคลเชียม
ระบบโลหิต
การขาด Erythropoietin ทำหน้าที่กระตุ้นการทำงานของไขกระดูกในการสร้างเม็ดเลือดแดงและเป็นกรดจากการเผาผลาญ การเกิด uremia มีผลต่อการสร้างเม็ดเลือดแดงและผนังหลอดเลือด ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกง่าย
มีอาการติดเชื้อได้ง่าย ระบบภูมิคุ้มกันถูกกด เม็ดเลือดขาวทำหน้าที่ลดลง
ทดังนั้น เมื่อเข้าสู่ระยะดังกล่าวผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไต
คู่มือการพยาบาลผู้ป่วยโรคไตวายที่มารับการผ่าตัดใส่สายสวนระยะยาวเพื่อฟอกเลือด ในระยะเตรียมก่อนผ่าตัดและระยะตรวจติดตามผลหลังผ่าตัด
ปัจจัยเสี่ยง
การรับประทานอาหาร
ผู้ป่วยชอบรับประทานอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
เบาหวาน
จากกรณีศึกษาผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน
กลไกการเกิดภาวะไตเสื่อม เกิดจากการที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ซึ่ง ระดับน้ำตาลที่สูงเรื้อรัง ทำให้ระดับกลูโคสสูงขึ้น จะสร้างความเสียหายให้กับเส้นเลือด ฝอยในไต เนื่องจากความหนืดของน้ำตาลที่ผสมในเลือต ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ หารไหลเสี้ยนเลือด ซึ่งส่งผลให้เส้นเลือดแดงขนาดเล็กที่ตเสื่อม มีความดันและ ความเร็วเลือดที่เพิ่มสูงขึ้น เกิดการหนาตัวของเส้นเลือด หารทำงานของไตจึงเสื่อมลง
ความดันโลหิตสูง
ไตไม่สามารถขับน้ำและเกลือแร่ออกจากร่างกายได้น้ำและเกบือแร่สะสมมากผิดปกติทำให้ความดันโลหิตสูง
อายุ
อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ไตจะยิ่งเสื่อมมากขึ้น
การขับของเสียต่งๆที่อยู่ในร่างกายออกทางปัสสาวะ
ผลิตฮอร์โมน Erythropoietin ซึ่งมีหน้าที่กระตุ้นไขกระดูกให้สร้างเม็ดเลือด
3.เรนิน มีหน้าที่ควบคุมความดันโลหิต และวิตามินดี มีหน้าที่สร้างกระดูก ควบคุมสมดลน้ำและเกลือแร่ ขับถ่ายสารแปลกปลอมที่ร่างกายรับมา