Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ และการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และพลังงาน -…
การบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ และการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และพลังงาน
การบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้
:red_flag:3. หลักการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้
ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้
จัดระบบและกำหนดยุทธศาสตร์การให้บริการทั้งในเชิงรุก
การวางแผน
นิเทศ ติดตาม ประเมินผล
ศึกษาสภาพปัจจุบันและวิเคราะห์นโยบายของสถานศึกษา
:red_flag:4. ลักษณะของแหล่งเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นแหล่งวิชาการ
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นแห่ล่งธรรมชาติ
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นบุคคล
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นสื่อ
:red_flag:2. ความสำคัญของแหล่งเรียนรู้
ผู้เรียน สามารถเชื่อมโขงความรู้ท้องถิ่นสู่ความรู้สากลสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว
4.เห็นความสำคัญของการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
2.ผู้เรียนได้เรียนในสิ่งที่มีคุณค่า
มีส่วนร่วมในองค์กร
1.ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสภาพชีวิตจริง
ได้เรียนรู้จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
:red_flag:5. การจัดกระบวนการใช้แหล่งเรียนรู้
2.เสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในโรงเรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จัดระบบและพัฒนาเครือข่ายสารสนเทศ และแหล่งการเรียนรู้ใน โรงเรียน
พัฒนาโรงเรียนให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีแหล่งข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ วิทยาการ และสร้างเสริมประสบการณ์ที่กว้างขวางหลากหลาย
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ เป็นผู้ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
:red_flag:1. ความหมายของแหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้ หมายถึง ถิ่น ที่อยู่ บริเวณ บ่อเกิด แห่ง ที่หรือศูนย์ความรู้ที่ให้เข้าไปศึกษาหาความรู้ ความเข้าใจ และความชำนาญ ซึ่งแหล่งเรียนรู้จึงอาจเป็น ไปได้ทั้งสิ่งที่เป็นธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เป็นได้ทั้งบุคคล สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต และแหล่งเรียนรู้อาจจะอยู่ในห้องเรียนในโรงเรียนหรือนอกโรงเรียนก็ได้
:red_flag:6.
แหล่งเรียนรู้
วัตถุประสงค์ของการจัดแหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน
เสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในโรงเรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จัดระบบและพัฒนาเครือข่ายสารสนเทศ และแหล่งการเรียนรู้ในโรงเรียน
พัฒนาโรงเรียนให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีแหล่งข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ วิทยาการ และสร้างเสริม ประสบการณ์ที่กว้างขวางหลากหลาย
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะ การเรียนรู้ เป็นผู้ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเอง
แนวทางการสร้างและพัฒนาสื่อการเรียนการสอนและแหล่งเรียนรู้
ศึกษาธรรมชาติของเนื้อหา สาระ ที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้แต่ละ
พิจารณาประโยชน์และความคุ้มค่าของแหล่งเรียนรู้ว่าสามารถเร้าความสนใจสื่อความหมาย
ศึกษาผู้เรียน โดยพิจารณาถึงวัย ระดับชั้น ความรู้ ประสบการณ์
หาประสิทธิภาพของสื่อและแหล่งเรียนรู้ โดยการปรับปรุงสื่อที่จัดไว้
กำหนดจุดประสงค์จากผลการเรียนที่คาดหวังให้ชัดเจน
แหล่งเรียนรู้ที่เป็นสถานที่
ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข
สถานีขนส่ง
ที่ทำการของรัฐ
ย่านธุรกิจ
โรงงานอุตสาหกรรม
สถานศึกษา
สวนสาธารณะ
ทัณฑสถาน
สถานมหรสพ
สวนสัตว์
พิพิธภัณฑ์
วิธีการใช้แหล่งเรียนรู้
การใช้แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ต้องเริ่มจากแหล่งเรียนรู้ที่อยู่ใกล้ตัว
การใช้แหล่งเรียนรู้เพื่อฝึกปฏิบัติ ทดลอง ศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง
แหล่งเรียนรู้ด้านบุคลากร เป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ บุคคลเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องมีวุฒิทางการศึกษา
ข้อดีในการนำแหล่งเรียนรู้ มาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อชุมชน และกระบวนการเรียนรู้
ผู้เรียนเห็นคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนเกิดความสนุกสนาน
ผู้เรียนเกิดความรักท้องถิ่นและเกิดความรู้ในการอนุรักษ์สิ่งที่มีคุณค่าในท้องถิ่น
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากของจริง ทำให้เกิดประสบการณ์ตรง
การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
:star:2. ความสำคัญของสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
4.สิ่งแวดล้อมเป็นกำหนดลักษณะการดำรงชีวิตของมนุษย์
5.สิ่งแวดล้อมมีความสำคัญต่อความเจริญรุ่งเรื่องและความผาสุกของมนุษยชาติ
3.มีอิทธิพลต่อลักษณะที่อยู่อาศัย
6.ทางด้านวิชาการสิ่งแวดล้อมยังบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของชาติ
2.มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน
7.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนั้นมีความสำคัญมากต่อการพัฒนาและความเจริญของประเทศ
1.มีความสำคัญต่อการคงอยู่ของสิ่งมีชีวิต
:star:3. ประเภทของสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ (Natural Environment)
1.สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต (Biotic Environment)
2.สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Environment)
สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-Made Environment)
1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
2.สิ่งแวดล้อมทางสังคม
:star:1. ความหมายของสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมว้าว่าหมายถึงสรรพสิ่งข้อกำหนด กฎเกณฑ์ และกิจกรรมทั้งหลายที่อยู่รอบมนุษย์ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น แบ่งออกเป็น ๒ หมวดใหญ่ ๆ คือสภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
:star:4. การบริหารสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
2.สภาพแวดล้อมทางวิชาการ ได้แก่การจัดบรรยากาศการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนตลอดจนการจัดบริการเพื่อส่งเสริม สนับสนุนทางวิชาการต่าง ๆ
3.สภาพแวดล้อมทางการบริหารการจัดการ ได้แก่การดำเนินการใด ๆภายในโรงเรียนให้การปฏิบัติงานสำเร็จลงด้วยความร่วมมือร่วมใจของบุคคากร
1.สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ สภาพแวดล้อมที่เป็นวัตถุเช่น บริเวณโรงเรียน อาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องประกอบครุภัณฑ์ และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
การบริหารจัดการพลังงาน
:black_flag:สิ่งแวดล้อมศึกษา (Environmental Education)
เป็น กระบวนการ ให้การศึกษากับประชาชนเพื่อให้เกิดความตระหนักในความสำคัญและปัญหาของสิ่งแวดล้อมให้มีเจตคติที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาและป้องกันมิให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้นทั้งในปัจจุบันและอนาคต
:black_flag:สิ่งแวดล้อมศึกษา กระบวนการสำคัญ ที่ใช้สำหรับการจัดการเรียนรู้ของ โรงเรียนอีโคสคูล
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน(Education for SustainableDevelopment;ESD)
เป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและสมัครใจ โดยใช้ กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นอย่างมีความรับผิดชอบ
:black_flag:วัตถุประสงค์และเป้าหมายของสิ่งแวดล้อมศึกษา
ด้านเจตคติ (Attitude)
ด้านทักษะ (Skill)
ด้านความตระหนัก (Awareness)
การมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติ (Participation)
ด้านความรู้ความเข้าใจ(Knowledge)
:black_flag:การจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักสิ่งแวดล้อมศึกษา
การจัดกระบวนการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาที่มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องตามเป้าหมาย(HEAD-HEART-HAND) ของสิ่งแวดล้อมศึกษา
เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ครอบคลุมทั้งการเรียนรู้ เกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อม
เน้นการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานในการเรียนรู้ (Community Based Learning)
การเรียนรู้ ใน สิ่งแวดล้อมและการเรียนรู้ เพื่อ สิ่งแวดล้อม
การจัดการเรียนรู้จากปัญหาที่พบ (Problem Based Learning)
:black_flag:ระดับการดำเนินงานของ โรงเรียนอีโคสคูล
การดำเนินงานของ โรงเรียนอีโคสคูล ระดับกลางIntermediate
การดำเนินงานของ โรงเรียนอีโคสคูล ระดับสูงAdvance
การดำเนินงานของ โรงเรียนอีโคสคูล ระดับต้นBeginner