Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้สูงอายุ อายุ 83 ปี, ทฤษฎีเสื่อมโทรม ( wear and tear theory ),…
ผู้สูงอายุ อายุ 83 ปี
Dx : HT, DLP, Ischemic Stroke, Allergy
Hypertension
ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง ( cross linking theory)
เมื่ออายุมากขึ้น โมเลกุลขนาดใหญ่เกิดการเชื่อมตามขวาง
ทำให้หลอดเลือดมีความเปราะบาง
ทำให้หลอดเลือดแข็งและแตกง่าย
ทำให้หลอดเลือดเสียความยืดหยุ่น
เกิดการต้านทานในหลอดเลือดมากขึ้น
ทำให้หัวใจออกแรงบีบมากขึ้น
1 more item...
Dyslipidemia
ทฤษฎีการสะสม ( Accumulative theory )
เกิดจากการ สะสม Low-density lipoprotein (LDL) เป็นไขมันชนิดไม่ดีที่มาจากไขมันสัตว์ สะสมเป็นเวลานาน
กระตุ้นเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ เพิ่มจำนวนและสังเคราะห์ collagen
Collagen ห่อหุ้มและคลุมส่วนที่เป็นไขมันไว้ มีรูปร่างคล้ายหมวกคลุม
เกิดการหนาตัวของผนังหลอดเลือด
ทำให้หลอดเลือดตีบแคบลง
Ischemic stroke
1 more item...
Allergy
รับสารก่อภูมิแพ้เข้าไปในร่างกาย
จะกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง IgE ขึ้นมาในปริมาณน้อยร่างกายยังไม่ไวต่อสิ่งกระตุ้น
จึงยังไม่มีอาการของโรคภูมิแพ้
แต่เมื่อผู้ป่วยได้รับสารก่อภูมิแพ้มากขึ้นจะกระตุ้นให้ร่างกายสร้าง IgE เพิ่มมากขึ้น
ทำให้ผู้ป่วยมีอาการของโรคภูมิแพ้เพียงเล็กน้อย
แต่เมื่อผู้ป่วยสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้หลายๆครั้งร่างกายก็จะสร้าง IgE เพิ่มมากขึ้นไปอีก
จนร่างกายไวมากต่อสิ่งกระตุ้นผู้ป่วยก็จะมีอาการของโรคภูมิแพ้มาก
1 more item...
ทฤษฎีเสื่อมโทรม ( wear and tear theory )
เซลล์ร่างกายจะถูกทำลายเมื่อถูกใช้งานหนักมากเกินไป
เมื่ออายุมากขึ้นจึงเกิดการตายของเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะและระบบต่างๆในร่างกายจะทำงานเสื่อมลง
ฟัน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากประสิทธิภาพในการบดเคี้ยวลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
1 กระตุ้นให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่ายครั้งละน้อยๆบ่อยๆ หลีกเลี่ยงอาหารหวาน มัน เค็ม เครื่องเทศ
2 จัดอาหารให้น่ารับประทานเพื่อกระตุ้นการอยากอาหาร
3 ปรึกษาโภชนคลินิกโภชนากร เพื่อคำนวณสารอาหารที่เหมาะสมให้กับสภาพผู้ป่วยและกำหนดแผนในการให้อาหารในแต่ละมื้อแต่ละวัน
4 ส่งเสริมให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่เพียงพอ แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีวิตามินและแร่ธาตุ เช่น ฟักทองผักบุ้ง ตำลึง เนื้อสัตว์ เช่น ปลา ไข่ ตับ และผลไม้ เช่นมะละกอ ส้ม
5 ประเมินและติดตามน้ำหนักตัวชั่งน้ำหนักสัปดาห์ละ1-2ครั้ง
การประเมินสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ : ไม่มีฟันแท้ และไม่ได้ใส่ฟันเทียม
ตา
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 3
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากตาพร่ามัวทั้ง 2 ข้าง
กิจกรรมการพยาบาล
1 ควรติดไฟดวงเล็กๆบริเวณทางเดินตอนกลางคืน เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถมองเห็นในตอนกลางคืนลดการเกิดอุบัติเหตุ
2 ดูแลจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมปลอดภัย ได้แก่ ดูแลพื้นห้องและห้องน้ำไม่ให้เปียกลื่น ขจัดสิ่งกีดขวางที่จะเป็นอันตรายกับผู้สูงอายุ
3 จัดของใช้ที่จำเป็นของผู้สูงอายุไว้ใกล้มือ หยิบใช้ได้ง่ายไม่ให้ใช้ของมีคมและไม่วางของมีคมไว้ใกล้ๆ
4 แนะนำไม่ให้ผู้สูงอายุเร่งรีบในขณะทำกิจวัตรประจำวันให้ญาติช่วยดูแลใกล้ชิดขณะทำกิจกรรม
5 แนะนำให้มีกริ่งบริเวณหัวเตียงสามารถกดเรียกเมื่อต้องการความช่วยเหลือ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 4
มีภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
กิจกรรมการพยาบาล
1 ควรจัดน้ำดื่มในแต่ละวันอย่างเหมาะสม ผู้สูงอายุที่ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืนต้องลดปริมาณน้ำดื่มโดยเฉพาะก่อนนอนประมาณ 2 ชั่วโมง ( สมทรง จิระวรานันท์,2562 )
2 งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือคาเฟอีน จะช่วยลดอาการปัสสาวะบ่อยหรือปัสสาวะราดได้
3 การใช้เครื่องแต่งกายเสื้อผ้าที่สวมใส่จะต้องถอดง่ายและเลือกใช้อุปกรณ์ซับปัสสาวะและแผนรองรับปัสสาวะอย่างเหมาะสม
4 แนะนำการดูลให้ผู้สูงอายุได้รับปริมาณใหญ่อาหารอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาท้องผูกและต้องบินไทยเป็นการเพิ่มความดันในช่องท้อง ( สมทรง จิระวรานันท์,2562 )
5 การให้คำแนะนำเกี่ยวกับเว็บแผนการใช้ห้องน้ำที่ถูกต้องเช่นถ้านั่งที่ใช้ในการขับถ่ายปัสสาวะควรนั่งขับถ่ายปัสสาวะบนชักโครกโน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อยให้ข้อสอบสัมผัสกับพวกเขาในท่านั่งที่สุขสบายไม่เกร็งหรือเครียดจะช่วยให้กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานและหูรูดขายตัวส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะได้ดียิ่งขึ้นและทำให้ปัสสาวะถูกขับถ่ายออกมาได้หมดลดการข้างค้างของปัสสาวะ ( สมทรง จิระวรานันท์,2562 )
การบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
1) แนะนำให้ขมิบกล้ามเนื้อรอบทวารหนักและช่องคลอด
2) โดยขมิบ 10 วินาที และคล้าย 10 วินาที
3) แนะนำให้ขมิบ 50 ครั้ง/วัน แต่ไม่เกิน 25 ครั้ง/ครั้ง
4) สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น อาการปัสสาวะเล็ดราดจะค่อยๆดีขึ้น ( สมทรง จิระวรานันท์,2562 )
วิจัย
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ในผู้สูงอายุ : บทบาทพยาบาล
Urinary incontinence in older people: Nursing Role
รับประทานของมัน ทอด เป็นประจำ
ออกกำลังกายหรือเคลื่อนไหวร่างกายน้อย ความผิดปกติทางกรรมพันธุ์
ความเครียด รับประทานอาหารเค็ม พันธุกรรม ผู้สูงอายุ หรือ การูบบุหรี่และการดื่มแอลกอฮอล์
เกิดจากการสัมผัสสารต่างๆ สารก่อภูมิแพ้ เช่น ฝุ่น ละอองเกสร
การคัดกรองสุขภาวะตา : มีปัญหาการมองเห็น
การคัดกรองภาวะกลั้นปัสสาวะ : มีปัญหาปัสสาวะเล็ด ราด