Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury) - Coggle Diagram
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)
หมายถึง อันตรายหรือการบาดเจ็บที่ทารกได้รับในระยะคลอด และในขณะทำการคลอด หรือเกิดจากการบาดเจ็บจากเครื่องมือ (mechanism trauma) ในการทำคลอด การบาดเจ็บจากการคลอดมีทั้งที่สามารถหลีกเลี่ยงได้และหลีกเลี่ยงไม่ได้ ทารกอาจเสียชีวิต หรือมีความพิการ
สาเหตุ
ทารกตัวโต
การคลอดท่าก้น
ส่วนนำทารกมีขนาดใหญ่กว่าเชิงกราน
การคลอดยาก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
การคลอดยาวนาน
ผู้ทำคลอดไม่ชำนาญ
การใช้สูติศาสตร์หัตถการ เช่น forceps
extraction, vacuum extraction
การบาดเจ็บของ
เส้นประสาทส่วนปลาย
ความผิดปกติของเส้นประสาทที่เลี้ยงใบหน้า เกิดจากเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ถูกกดหรือกระทบกระเทือน เกิดอัมพาตชั่วคราวของกล้ามเนื้อหน้ามักเป็นด้านเดียว ส่วนใหญ่หายเองได้ภายใน 2-3 วันถึงเดือน การรักษา ดูแลไม่ให้ตวงตาได้รับอันตราย ดูแลให้ได้รับนม ในรายที่เส้นประสาทขาด ต้องได้รับการทำศัลยกรรมซ่อมประสาท และอธิบายให้บิดามารดาของทารกเข้าใจเพื่อให้คลายความวิตกกังวล
การบาดเจ็บบริเวณกลุ่มประสาท Brachial
1.) อัมพาตของประสาทกล้ามเนื้อแขนส่วนบน แขนข้างนั้นส่วนบนขยับเขยื้อนไม่ได้ moral reflex ข้างนั้นจะเสียไปจะกลับเป็นปกติภายใน 1-3 สัปดาห์ ถ้าไม่หายภายใน 3 เดือน
2.) อัมพาตของประสาทกล้ามเนื้อแขนส่วนล่าง ได้รับอันตรายเส้นประสาทไขสันหลัง C7- C8 และ T1ทำให้กล้ามเนื้อบริเวณมือของเด็กขยับไม่ได้ กล้ามเนื้อมือเป็นอัมพาต งอมือและกำมือไม่ได้ grasp reflex หายไป อาจฟื้นตัวได้เองใน 1 เดือน
Phrenic nerve paralysis เกิดจากประสาทไขสั่นหลังระดับคอที่ 3,4,5ได้รับอันตราย ทำให้เกิดการอัมพาตของกระบังลม อาการหายใจหอบและเร็ว เขียว ปอดข้างที่ไม่มี Phrenic nerve มาเลี้ยงจะเคลื่อนไหวได้น้อย และอาจได้ยินเสียงการหายใจเบามาก
การบาดเจ็บของอวัยวะภายใน
การบาดเจ็บของอวัยวะในช่อง
ท้อง เช่น ตับแตก ม้ามแตก
กระดูกหัก
กระดูกไหปลาร้าหัก กระดูกต้นแขนหัก กระดูกต้นขาหัก
การบาดเจ็บบริเวณสันหลัง
เกิดกับทารกที่คลอดท่าก้นแล้วติดศีรษะ และผู้ทำคลอดออกแรงดึงหมุนตัวทารกรุนแรงเกินไป
การรักษาพยาบาล ห้ามขยับหรือเคลื่อนย้ายทารกเพราะกระดูกที่ห้กอาจไปกดเส้นประสาทท่าให้เป็น อัมพาต (paralysis) ในร้ายที่เป็นมากอาจเสียชีวิตหลังคลอดไม่นาน
การเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
สาเหตุคือ การคลอดก่อนกำหนด การได้รับอันตรายรุนแรงจากการ
คลอด trauma ภาวะขาดออกซิเจนเป็นเวลานานอาการและอาการแสดง moro reflex น้อยหรือไม่มีเลยร่างกายอ่อนปวกเปี๊ยกเซื่องซึม ร้องเสียงแหลม หายใจผิดปกติ กระหม่อมโป่งตึ่ง ซัก ดูดกลืนไม่ดี T ต่ำการพยาบาล ให้พักผ่อนเพียงพอ ดูแลให้หายใจสะดวกและได้รับออกซิเจนเพียงพอ ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารเพียงพอ ป้องกันการชัก ป้องกันการติดเชื้อ ดูแลทารกด้านจิตใจ อธิบายให้บิดาและมารตาของทารกเข้าใจ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
Caput succedaneum
ㆍสาเหตุ: ศีรษะถูกกโดยตรงกับปากมดลูกที่ยังเปิดไฟหมดเป็นเวลานาน
การรักษาพยาบาล: อธิบายให้พ่อแม่ของทรกเข้าใจเพื่อคลายความวิตกกังวลว่าอาการนี้หายไปได้เองภายใน 2-3 วันแรก
Cephalhematoma
สาเหตุ กะโหลกศีรษะของทรกกดหรือกระแทกกระดูกเชิงกรานหรือกระดูกpromontory of sacrum ของมารดา Cephalhematomaการรักษาพยาบาล อธิบายให้มารดาทราบการเกิดสามารถหายได้เองเองภายใน 3 เดือน ให้มารดาดูแลทารกในการป้องกันภาวะตัวเหลือง สั่งเกตอาการซีดเจาะ hematocritดูแลอาการและรักษาความสะอาดให้ดีอยู่เสมอให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับก้อนโน
หนังศีรษะหรือ
ใบหน้าเป็นรอยแดง
สาเหตุ เกิดจากกรคลอดโดยใช้เครื่องดูดหรือคีม ไม่มีการรักษาเฉพาะยกเว้น blebหรือแผลถลอกที่หนังศีรษะอาจใช้ยาต้านจุลชิพชนิดขี้ผึ้งทา
Subconjunctival and
retinal hemorrhage
คือการมีเลือดออกที่บริเวณเยื่อบุตา เกิดจากการมีแรงดันภายในทรวงอกเพิ่มขึ้นอย่างกะทันหัน ขณะทรวงอกของทารกผ่านช่องทางคลอดหรือช่องทางคลอดบีบรัต ที่ศีรษะ ทำให้เส้นเลือดฝอยแตก ภาวะนี้ไม่ต้องรักษาหายได้เอง