Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
อาการแสดงสงสัยว่าตั้งครรภ์
ขาดประจำเดือน (amenorrhea)
ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
ความเครียด
ความเจ็บป่วย
ออกกำลังกายอย่างหนัก
อาการคลื่นไส้อาเจียน
(nausea or morning sickness)
มีสาเหตุจากโรคทางระบบทางเดินอาหาร
ภาวะเครียด
อ่อนเพลีย (fatigue)
การติดเชื้อ
อาจเกี่ยวข้องกับภาวะโลหิตจาง (anemia)
พักผ่อนไม่เพียงพอ
ความเครียด
เต้านมเปลี่ยนแปลง (breast changes)
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน
หรือยาเม็ดคุมกำเนิด
ปัสสาวะบ่อย (urinary frequency)
อาจมีความเกี่ยวข้องกับภาวะติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการแสดงการตั้งครรภ์แน่นอน
fetal heart sound
ฟังด้วย fetoscope
เมื่ออายุครรภ์ 20 - 24 สัปดาห์
fetal movement and fetal part
ตรวจพบการเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์ และพบส่วนของทารก
เมื่ออายุครรภ์ 22 สัปดาห์ขึ้นไป
ultrasound
พบ gestational sac ถุงน้ำคร่ำ
เมื่ออายุครรภ์ 6 สัปดาห์ขึ้นไป
พบส่วนต่างๆของร่างกาย
อาการที่แสดงว่าน่าจะตั้งครรภ์
ตรวจพบฮอร์โมน hCG ในเลือด (4 - 12 สัปดาห์)
มีสาเหตุจากครรภ์ไข่ปลาอุก (hydatidiform mole)
ตรวจพบฮอร์โมน hCG ในปัสสาวะ (6 - 12 สัปดาห์)
มีสาเหตุจากมะเร็งของ trophoblastic cell ของรก (choriocarcinoma)
การเปลี่ยนแปลงของรูปร่าง ขนาด และความนุ่มของมดลูก (changes in the uterus) การตรวจทางช่องคลอด
Von Fernwald’s sign+ve
ตำแหน่งของยอดมดลูกที่รกเกาะ
มีลักษณะนุ่ม และไม่สม่ำเสมอ
พบเมื่ออายุครรภ์ 4 - 5 สัปดาห์
Piskacek’s sign+ve
มดลูกขยายใหญ่ และนุ่ม
สามารถคลำได้จากการตรวจทางช่องคลอด
เมื่ออายุครรภ์ 12 - 16 สัปดาห์
McDonald’s sign
มดลูก และปากมดลูก สามารถหักทำมุมกันได้ง่าย
Ladin’s sign+ve
จุดที่เริ่มนุ่มเป็นแห่งแรก
ตรงกลางทางด้านหน้าของมดลูกส่วนล่าง
Goodell’s sign +ve
ตรวจพบปากมดลูกนุ่มคล้ายกับริมฝีปาก
พบเมื่ออายุครรภ์ 6 - 8 สัปดาห์
Hegar’s sign+ve
มดลูกนุ่มมาก ทำให้แยกคอมดลูกออกจากตัวมดลูกได้
พบเมื่ออายุครรภ์ 6 - 8 สัปดาห์
ballottement of fetus
การออกแรงกดบนตัวมดลูก
ทำให้ทารกจมลงในน้ำแล้วลอยย้อนกลับมากระทบที่เดิม
มดลูกมีขนาดใหญ่ขึ้น (uterine growth) (8 สัปดาห์ขึ้นไป)
อาจเกิดจากก้อนเนื้องอก
การหดรัดตัวของมดลูก (braxton hicks)