Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต, ด้านโภชนาการ, ด้านการกระตุ้น,…
แนวคิดการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ป่วยวิกฤต : ผู้ป่วยที่เจ็บป่วยที่ระบบหรืออวัยวะในร่างกายล้มเหลว : หลายระบบ
ลักษณะทั่วไปของผู้ป่วย
ภาวะวิกฤตการเจ็บป่วยเฉียบพลัน (Acute illness)
การบาดเจ็บรุนแรงต่อหลายอวัยวะ (Severe multiple trauma)
อาการไม่คงที่ ประเมินจากสัญญาณชีพ
ผู้ป่วยติดอุปกรณ์ภายนอก เช่น ECG monitor, Pulse oximetry
ผู้ป่วยได้รับการสอดใส่เครื่อวเข้าสู่ร่างกาย เช่น CVL line , Arterial line
การตอบสนองต่อการเจ็บป่วย
ภาววะเครียด กังวล
การใส่เครื่องช่วยหายใจ
การใส่อุปกรณ์ต่างๆทั้งภายในและนอก
ภาระค่าใช้จ่ายค่ารักษา
ภาวะการเจ็บป่วย
การขาดการนอนหลังที่เพียงพอ
การพยาบาล
สร้างสิ่งแวดล้อมเพื่อการฟื้นหาย
สร้างสิ่งแวดล้อมให้ผู้ป่วยรู้สึกสะดวกสบายไม่แปลกที่เกินไป
การพยาบาลลดความเครียดและความกังวล แสงสีธรรมชาติ ใกล้หน้าต่างมองเห็นภายนอก
ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ จัดเวลาเข้าเยี่ยม ลดการรบกวนที่ไม่จำเป็น
ดูแลด้านจิตวิญญาณ
ความเชื่อด้านศาสนา
ที่ยึดจิตใจ เช่น ฟังบทสวดมนต์ ภาวนา
ดูแลโดยให้ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
รับฟัง และวางแผนการรักษาร่วมกับทีมสุขภาพ
ควรใช้ถ้อยคำที่เหมาะสม
การเตรียมผู้ป่วยย้ายออกจากหอผู้ป่วยวิกฤต
ดูแลในเรื่องภาวะวิตกกังวลในการย้ายออกจากหอผู้ป่วย
ปลดอุปกรณ์ที่ไม่ได้ใช้ออกทีละอย่าง
บทบาทพยาบาลต่อครอบครัว
ให้ข้อมูลการเจ็บป่วย การรักษาเป็นระยะๆให้ครอบครัวทราบ
อำนวยความสะดวกเมื่อครอบครัวอยากปรึกษาแพทย์
กรอบแนวคิด FANCAS
ด้านการหายใจ
การขับเสมหะ/การทำทางเดินหายใจให้โล่ง
แบบแผนการหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
การแลกเปลี่ยนก๊าซบกพร่อง
ด้านความสมดุลของน้ำ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจใน 1 นาทีลดลง
ระบบการทำงานของไต/สมดุลน้ำและอิเลคโทรลัยต์
เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อลดลง
เสี่ยงต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิร่างกายสูง/ต่ำ
ควบคุมปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะเล็ด
แนวคิดการพยาบาล FAST HUGS BID
F : Feeding การจัดการด้านอาหารและน้ำ
ประเมินภาวะทางโภชนาการ
ประเมินพลังงานที่ต้องใช้ในแต่ละวัน
การให้โภชนางบำบัด
การให้อาหารทางหลอดเลือดดำ
การให้อาหารทางเดินอาหาร
ติดตามภาวะโภชนาการ
S : Sedation การระงับประสาท ส่งเสริมการนอนหลับ
การใช้วิธีทางเลือก
การใช้เสียงดนตรี
การใช้สุคนธบำบัด
น้ำมันหอมระเหย
กุหลาบมอญ
ลาเวนเดอร์
การตั้งค่าเครื่องช่วยหายใจ
การส่งเสริมการนอนหลับโดยไม่ใช้ยา
T : Thromboembolic prevention การป้องกันการเกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ
วิธีทางป้องกันด้วยยา
การบริหารยาต้านการเกิดลิ่มเลือด
ยากลุ่ม low molecular weight heparin (LMWH)
Enoxaparin
วิธีทางกายภาพ
การใช้เครื่องบีบไล่เลือดเป็นจังหวะ
A : Analgesic การจัดการความเจ็บปวด
ประเมินความปวด
CPOT
วาจา สีหน้า ท่าทาง พฤติกรรม
สัญญาณชีพ
BPS
การจัดการความปวดที่เหมาะสม
กำหนดเป้าของการระงับปวด
ประเมินความปวดซ้ำ
บันทึกคะแนนการปวด
การรักษาความปวด
ใช้ยา
NSAID
Acetaminophen
ยากลุ่ม Opioid
ไม่ใช้ยา
ลดการใช้เสียงดัง
จัดการสายระบายที่รักษา
ให้ผู้ป่วยได้รับทราบข้อมูลการรักษา
ประเมินปวดหลายวิธี
เลือกใช้วิธีระงับปวดที่เหมาะสม
H : Head of the bed elevation การจัดท่านอนหัวสูง
จัดท่านอนหัวสูง 30-45 องศา (ต้องไม่ขัดกับโรค)
ท่า Reverse Trendelenburg position
ผู้ป่วยบาดเจ็บสมองและไขสันหลัง
ผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก
U : Ulcer;stress ulcer prevention การป้องกันการเกิด stress ulcer
การป้องกันจากเยื่อบุกระเพาะอาหาร
ป้องกันผ่านระบบประสาทและฮอร์โมนที่มีคุณสมบัติป้องกันการทำลายของเยื่อบุกระเพาะอาหาร
การให้ยา เพื่อลดกรด
การให้อาหารผ่านระบบทางเดินอาหาร
การกำจัด Helicobacter pylori
G : Glucose control การควบคุมน้ำตาล
ดูแลให้ได้รับการหยดสารละลายอินซูลินคงที่ 80-180 mg/dL
ดูแลให้ได้รับสารอาหารเพื่อป้องกันภาวะขาดสารอาหาร
ควรมี Insulin infusion
ติดตามระดับน้ำตาล
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนระดับน้ำตลในเลือดต่ำ
S : Spontaneous breathing trial การจัดการให้ผู้ป่วยหายใจเองก็
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยด้านการหายใจ/ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การทดลองให้ผู้ป่วยหายใจเอง 30 นา - 2 ชั่วโมง
การถอดท่อช่วยหายใจ
กรณีหายใจเองไม่ได้พิจารณาเจาะคอ
B : Bowel care การจัดระบบขับถ่ายอุจจาระ
อาการท้องเสีย
อุจจาระมากกว่า 3 ครั้ง
อุจจาระที่เหลวเป็นน้ำมากกว่า 200-250 กรัม/วัน
อาการท้องผูก
การเคลื่อนไหวร่างกายลดลง
การทำงานของลำไส้ลดลง
นวดหน้าท้อง
กินยาขับถ่าย/ยาระบาย
I : Indwelling catheter removal การถอดท่อหรือสายต่างๆให้เร็วที่สุด
ท่อช่วยหายใจ
IV fluid
Foley’s catheter
D : De-escalation of antibiotics การให้ยาปฏิชีวนะเท่าที่จำเป็นหรือการให้ยาน้อยที่สุด
แนวคิดการพยาบาล ABCDE Bundle
D : Delirium การเคลื่อนไหวร่างกาย ทำกายภาพบำบัด
E : Early mobilization and ambulating การเคลื่อนไหวร่างกายทำกายภาพบำบัด
C : Co-ordination ทำงานร่วมกับสหวิชาชีพเพื่อกระตุ้นส่งเสริมให้ผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจในระยะสันที่สุด
B : Breathing trials ส่งเสริมให้ผู้ป่วยหย่าเครื่องช่วยหายใจ
A : Awakenning trials ประเมินและดูแลส่งเสริมให้ผู้ป่วยตื่น รู้สึกตัว
ด้านโภชนาการ
การดูดซึม ขับถ่ายของเสีย
เยื่อบุในช่องปากเปลี่ยนแปลง
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
การกลืนลำบาก
ท้องผูก ท้องร่วง กลั้นอุจจาระไม่ได้
ด้านการกระตุ้น
มีความปวดเรื้อรัง
ไม่สุขสบายเนื่องจากปวด
พร่องความรู้เกี่ยวกับ …
กระบวนการคิดเปลี่ยนแปลง
การสัมผัส การรับรู้ การมองเห็น การเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลง
ด้านการทำกิจกรรม
ความทนต่อกินกรรมลดลง
ขาดกิจกรรมชีวิตประจำวัน
การเคลื่อนไหวบกพร่อง
ความสามารถในการใช้ชีวิตลดลง
ด้านการติดต่อสื่อสาร
มีความวิตกกังวล กลัว เศร้าโศก
มีความรู้สึกสิ้นหวัง รู้สึกสูญเสีย