Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้สูงอายุชายไทย อายุ 86 ปี D4A1ACC3-EC22-412F-90E2-CCB3B0E5DF42 - Coggle…
ผู้สูงอายุชายไทย
อายุ 86 ปี
COPD
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
เกิดการอักเสบ
มีการเปลี่ยนแปลงของหลอดลมตั้งแต่ขนาดเล็ก/ใหญ่
เมื่อหลอดลมเกิดการระคายเคือง
ทำให้เยื่อบุหลอดลมโดยเฉพาะต่อมเมือก (mucous gland) หลั่งสารคัดหลั่งออกมา
เซลล์มีขนาดใหญ่และเพิ่มจำนวนมากขึ้นทำให้ผนังหลอดลมเกิดการเสียหน้าที่| เสียความยืดหยุ่น
ท่อหลอดลมเกิดการตีบแคบลง
สูบยาเส้น ทำให้Cilia (ขนกวัด)ในเซลล์เยื่อบุหลอดลม เคลื่อนไหวได้น้อยลง
1 more item...
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่3
มีภาวะเบื่ออาหาร
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้สูงอายุบอกว่า รับประทานอาหารได้น้อย
น้ำหนักลดลง6กิโลกรัม > 3เดือน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถรับประทานอาหารได้มากขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้สูงอายุสามารถรับประทานอาหารได้ถูกต้องและเหมาะสมกับสภาพร่างกาย
• ผู้สูงอายุสามารถรับประทานอาหารได้มากข้ึน
• น้ำหนักเพิ่มขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง เช่น อาการกล้ามเน้ือแขนขา ลีบ อ่อนเพลีย เยื่อบุตาซีด อาการบวมตามแขนขา เพื่อสังเกตอาการที่ผิดปกติ และ สามารถให้การพยาบาลได้ทันท่วงที
แนะนําให้รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆ และเพิ่มจํานวนมื้ออาหารเป็นวันละ 5-6 มื้อ
ดูแลให้ผู้สูงอายุได้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนคุณภาพสูง เช่น เน้ือปลา ไข่ขาว นมพร่องมันเนย เป็นต้น เพราะโปรตีนเป็นสารที่จําเป็นต่อการสร้างและซ่อมแซมกล้ามเนื้อให้ร่างกาย
การประเมินผล
ผู้สูงอายุรับประทานอาหารได้มากขึ้น
-ผู้สูงอายุรับประทานอาหารได้ถูกต้องและเหมาะสมกับร่างกาย
-เยื่อบุตาแดงดี
น้ำหนักเพิ่มขึ้น จาก54 🔜 56 กก.
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่2 เสี่ยงต่อการได้รับอุบัติเหตุ เนื่องจาก ตามัว
ข้อมูลสนับสนุน
S: ผู้สูงอายุบอกว่า เป็นตาต้อกระจก
O: แบบประเมินการคัดกรองสายตา =0 คะแนน
การประเมินการมองเห็น ตาขวา 20|200
ตาซ้าย 20 | 200
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันไม่ให้ตาบอด/ ตามัวไม่ให้แย่ลง
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้สูงอายุได้รับการรักษาตาต้อกระจก
ประสานรพ.สต เพื่อได้คิวนัดตรวจตา
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความสามารถในการมองเห็นและการทำกิจวัตรประจำวัน เช่นการทรงตัว
เพื่อประเมินการมองเห็นและความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ประสานเจ้าหน้าที่ รพ.สต เพื่อให้ผู้สูงอายุทำใบนัดกับจักษุแพทย์และได้รับการผ่าตัดตาต้อกระจก
การเตรียมตัวก่อนผ่าตัด
2.1ฝึกนอนหงายโดยมีผ้าคลุมบริเวณใบหน้า นานประมาณ
20-30นาที เพื่อให้หายใจใต้ผ้าคลุมจนชิน
2.2ในวันผ่าตัด อาบน้ำสระผม ล้างหน้าก่อนมารพ.
2.3 งดทาแป้ง ครีม
2.4 รับประทานอาหารเช้าและยารักษาโรคประจำตัวตามปกติ ยกเว้นยาที่แพทย์สั่งให้งด เช่น ยาละลายลิ่มเลือด
2.5 ถอดของมีค่า เครื่องประดับ ฟันปลอม หากมีอาการผิดปกติ เช่น ตาแดง เคืองตา ขยี้ตา หรือเป็นหวัด ไอ กรุณาแจ้งแพทย์
2.6ในวันผ่าตัด ควรมีญาติมาด้วยอย่างน้อย1 คน
ระวังเรื่องความสะอาด ล้างมือบ่อยๆ พยายามอย่าเอามือไปขยี้ตา เพราะกระตุ้นให้เกิดการแดง อักเสบ หรือติดเชื้อได้
แนะนำให้ญาติจัดสิ่งแวดล้อมให้สะดวกแก่การใช้งานของผู้สูงอายุ
แนะนำให้ญาติจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย เช่น ดูแลพื้นบ้านและพื้นห้องน้ำให้แห้งอยู่เสมอ ใช้พรหมเช็ดเท้าชนิดยึดติดพื้น ทำราวจับในห้องน้ำ ดูแลให้มีแสงสว่างเพียงพอเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม
การประเมินผล
ผู้สูงอายุไม่เกิดอุบัติเหตุการพลัดตกหกล้ม
-ผู้สูงอายุได้รับคิวนัดตรวจกับจักษุแพทย์
ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง
เมื่อมีอายุมากขึ้นคอลลาเจนจะมีการเชื่อมขวางมากขึ้นทำให้เกิดการแข็ง แห้ง แตก โดยเฉพาะเมื่อสัมผัสอากาศ ความร้อน
แสงอุตต้าไวโอเล็ท ทำให้โปรตีนในเลนส์ตา มากขึ้น ทำให้เกิดต้อกระจก
Chronic ischaemic heart disease
โรคหัวใจขาดเลือด
สาเหตุ ผู้ป่วยสูบบุหรี่
.
ทำให้เกิดการเกาะของเกร็ดเลือด (platelet aggregation) มากขึ้น
เลือดจะไหลผ่านได้ไม่สะดวก| มีปริมาณน้อยลง
เกิดแรงเสียดสีของเลือดที่ไหลผ่านกับหลอดเลือดสูงขึ้น
คราบไขมัน เกิดการปริแตก | เกาะติดตามผนังหลอดเลือด
1 more item...
หลอดเลือดจึงเกิดการหนา|แข็งตัวของผนังหลอดเลือดแดงโคโรนารี coronary artery
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม
( Wear and tear theory). เมื่อมีการใช้งานมาก จะมีการเกิดความผิดปกติ เซลล์ก็จะมีการเสื่อมลงและตาย ทำให้การทำงานของอวัยวะลดลง
สารนิโคตินในบุหรี่กระตุ้นการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มปริมาณไขมันในเลือดให้สูงขึ้น คาร์บอนมอนนอกไซด์จะไปแย่งออกซิเจน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 5 เสี่ยงต่อการกลับมาเป็นซ้ำโรคหัวใจขาดเลือด
วัตถุประสงค์
ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพได้เหมาะสมและถูกต้อง
ไม่เกิดการเป็นซ้ำของหลอดเลือดหัวใจตีบ
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้สูงอายุมีความรู้และตระหนัก
ในการดูแลสุขภาพตนเองสามารถปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสมกับโรค
การประเมินผล
ผู้สูงอายุมีความรู้และตระหนัก
ในการดูแลสุขภาพตนเองสามารถปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพได้เหมาะสมกับโรคและไม่เกิดการกลับมาเป็นซ้ำของโรคหัวใจขาดเลือด
กิจกรรมการพยาบาล
สังเกตอาการ เช่น อาการเจ็บแน่นหน้าอก ให้รีบไปพบแพทย์
รับประทานยา อย่างต่อเนื่องห้ามหยุดยาเอง
การตรวจสุขภาพประจำปี | การไปพบแพทย์อย่างต่อเนื่อง
แนะนำการออกกำลังกาย เช่น การปั่นจักรยาน
การรับประทานอาหาร ลดอาหารประเภทของทอด และอาหารที่เป็นกะทิเช่น ขนมหม้อแกง ปลาหมึก หอยนางรม ไอศกรีม
ข้อมูลสนับสนุน
O: ผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ CABG-Coronary Artery Bypass Grafting
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่4 มีภาวะซึมเศร้าเล็กน้อย
ข้อมูลสนับสนุน
S: เบื่อโลก รู้สึกเห็นคนอื่นดีกว่าตนเอง
O: แบบประเมินการคัดกรองโรคซึมเศร้าด้วย 9 คำถาม =10คะแนน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีภาวะซึมเศร้าลดลง
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้สูงอายุเห็นคุณค่าของตัวเองมากขึ้น
กิจกรรมการพยาบาล
การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ เบี่บงเบนความเครียด ไปทำกิจกรรมที่ผู้สูงอายุชอบ เช่น การออกกำลังกาย เช้าเย็น
การพูดให้กำลังใจผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าในตัวเอง
ชวนผู้ป่วยคุยบ้างเล็กน้อย ด้วยท่าทีที่สบายๆ ใจเย็นพร้อมที่จะช่วยเหลือ โดยไม่กดดัน
การส่งเสริมให้คนในครอบครัว มีส่วนร่วมในการดูแล
ผู้สูงอายุ
การประเมินผล
ผู้สูงอายุมีภาวะซึมเศร้าลดลง
-ผู้สูงอายุพูดถึงตนเองด้วยความพอใจ
-การประเมินซึมเศร้ามีคะแนนลดลง
ทฤษฎีกิจกรรม ( Activity Theory )
เมื่อบุคคลมีอายุมากขึ้น สถานภาพ และบทบาททางสังคมจะลดลง แต่บุคคลยังมีความต้องการ ทางสังคมเหมือนบุคคลในวัยกลางคน ซึ่งทฤษฎีนี้เชื่อว่า ผู้สูงอายุมีความต้องการที่จะเข้าร่วมกิจกรรม เพื่อความสุข และการมีชีวิตที่ดีเช่นเดียวกับวัยผู้ใหญ่ และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมที่ตนเองสนใจได้