Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษาการทำงานของสมองและฮอร์โมนเมลาโทนินต่อโรคนอนไม่หลับ :red_flag:,…
การศึกษาการทำงานของสมองและฮอร์โมนเมลาโทนินต่อโรคนอนไม่หลับ :red_flag:
melatonin
Identification of melatonin in plants and its effects on plasma melatonin levels and binding to melatonin receptors in vertebrates. - Abstract - Europe PMC
ปริมาณตัวจับเมลาโทนินที่มากใน SCN (กลุ่มเซลล์ที่ควบคุมระบบนาฬิกาชีวิตในร่างกาย) จึงสันนิษฐานว่าเมลาโทนินช่วยในการควบคุมวงจรการตื่น-หลับโดยการเข้าไปทำปฏิกิริยากับตัวจับ
(
https://europepmc.org/article/med/7773197
)
Melatonin is a derivative of seretonin
คุณสมบัติเพิ่มเติม
ต้านการอักเสบ
melatonin acts to inhibit the Ca2+-dependent release of dopamine
insomnia
Sleep-Wake Differences in Relative Regional Cerebral Metabolic Rate for Glucose among Patients with Insomnia Compared with Good Sleepers - PMC
.
โรคนอนไม่หลับมีลักษณะคือปริมาณสัมพัทธ์ของการเผาผลาญกลูโคสในช่วง NREM และช่วงที่ตื่นในบางส่วน โรคนอนไม่หลับเกี่ยวข้องกับการทำงานร่วมกันที่ผิดปกติของสมองบริเวณต่างๆ ในช่วง NREM หรือการลดการทำงานร่วมกันของสมองในช่วงที่ตื่น
(
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC5020360/
)
Autonomic dysregulation and sleep homeostasis in insomnia - PMC
การทำงานผิดปกติของระบบที่ทำงานอัตโนมัติอาจเป็นกลไกที่เชื่อมระหว่างคุณภาพการนอนแบบรูปธรรมและนามธรรมในผู้ใหญ่ที่เป็นโรคนอนไม่หลับ [และอาจเป็นส่งผลต่อสุขภาพในทางที่ไม่ดี
(
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC8343579/
)
Sleep, insomnia, and depression - PMC
หาความผิดปกติของช่วง REM ในคนปกติและคนนอนไม่หลัยโดยใช้การกระตุ้น Cholinergic เพราะการหลับช่วง REM ถูกควบคุมโดยเซลล์ประสาท cholinergic ในก้านสมอง
(
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC6879516/
)
The impact of stress on sleep: Pathogenic sleep reactivity as a vulnerability to insomnia and circadian disorders - PMC
การตอบสนองต่อความเครียด/สิ่งเร้าในช่วงที่นอนหลับ (sleep reactivity) เกี่ยวข้องกับกรรมพันธุ์ เพศ สิ่งแวดล้อม และในระดับระบบประสาท บางส่วนที่ทำให้เกิดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าคือ ระบบเครือข่าย cortical ที่ถูกรบกวน และการทำงานผิดปกติของระบบประสาทอัตโนมัติและระบบไฮโปทาลามัส ต่อมพิทูอิทารี และต่อมหมวกไต
(
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC7045300/
)
นิยามของโรคจากองค์กรต่างๆบอกว่าอะไรบ้าง
suprachiasmatic nuclei (SCN)
Identification of melatonin in plants and its effects on plasma melatonin levels and binding to melatonin receptors in vertebrates. - Abstract - Europe PMC
ปริมาณตัวจับเมลาโทนินที่มากใน SCN (กลุ่มเซลล์ที่ควบคุมระบบนาฬิกาชีวิตในร่างกาย) จึงสันนิษฐานว่าเมลาโทนินช่วยในการควบคุมวงจรการตื่น-หลับโดยการเข้าไปทำปฏิกิริยากับตัวจับ
(
https://europepmc.org/article/med/7773197
)
receptor
Ramelteon overview
MT1 ยังยั้งการส่งสัญญาณของ SCN ทำให้นอนหลับได้
MT2 ควบคุมเกี่ยวกับการเปลี่ยนช่วงเวลาของเมลาโทนินใน circadian rhythm
ramelteon จับ mt1 2 ได้ดีกว่า melatonin (
https://www.sciencedirect.com/topics/medicine-and-dentistry/ramelteon
)
MT1 อยู่บน cell membrane
เมลาโทนิน จับ MT1
MT1 ที่ถูกกระตุ้น ไปจับ G protein อื่น
ทำหน้าที่ยับยั้ง adenylate cyclase
sleep
วารสารสภาการพยาบาล The Thai Journal of Nursing Council
การนอนไม่หลับและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง Insomnia and related factors
การลดลงของเซลล์ประสาทในสมองที่มีอิทธิพลต่อคลื่นเดลตาซึ่งแสดงถึงการนอนหลับลึกระยะ 3 4 ของ NREM หรือการเสื่อมระบบประสาทควบคุมการทำงานของจังหวะชีวภาพที่ควบคุมการนอนหลับ ทำให้โครงสร้างการนอนหลับเปลี่ยนแปลง เมื่อระยะหลับลึกลดลง ก็จะทำให้ตื่นง่ายจากสิ่งกระตุ้นต่างๆ
วารสารสภาการพยาบาล The Thai Journal of Nursing Council
การนอนไม่หลับและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง Insomnia and related factors
เมื่อมีความวิตกกังวลเกิดขึ้น ร่างกายจะมีการหลั่ง
อิพิเนฟฟรีน
และ
นอร์อิพิเนพฟรีน
จากต่อมหมวกไตชั้นในและคอร์ติโซนจากต่อมหมวกไตชั้นนอก ทำให้อัตราการหายใจระดับ
ความดันโลหิตและความตึงตัวของกล้ามเนื้อเพิ่มขึ้น
อุณหภูมิห้องสูงกว่า 23.9 องศาเซลเซียส ทำให้การนอนหลับในระยะที่ 3 และ 4 ของ NREM และการนอนหลับระยะ REM ลดลง ทำให้ตื่นบ่อยขึ้นและมีการเคลื่อนไหวร่างกายเพิ่มมากขึ้น ส่วนอุณหภมูิที่ต่ำกว่า 12.2 องศาเซลเซียส ทำให้เกิดความไม่สุขสบายและรบกวนการนอนหลับได้
การนอนไม่หลับ
สาเหตุของการนอนไม่หลับ ความวิตกกังวล การนอนมากเกินไป การดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนเป็นส่วนผสม การออกกำลังกายก่อนนอน การใช้เวลาในห้องนอนมากเป็นระยะเวลานาน อาการเจ็บป่วยจากโรคต่างๆ
Circadian rhythm
Zeitgeber
ยังอ่านไม่จบ
เยอะมาก
อ่านไม่ไหว
(
https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC8745360/
)
การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนในช่วงต่างๆของวงจรการนอนหลับ
เซลล์ประสาท สื่อสัญญาณ (SCN)
เข้าไปควบคุมการทำงานเมลาโทนิน
เมลาโทนินควบคุม circadian rhythm
แล้วก็ทำให้ร่างกายเริ่มเข้าสู่ช่วงนอน เช่น ความดันลด/เพิ่ม
ร่างกายเข้าสู่วงจรการนอนหลับ NREM / REM
ซ่อมแซมร่างกายต่างๆนานา
ตื่น
digital brief therapy insomnia
ICSD เเต่ละระยะคืออะไร
NREM ระยะต่างๆคืออะไร
Homeostatic sleep drive
ELISA
Duth test
Spinman
American Acadamy of Sleep Medicine research ไปอ่าน
(REM Sleep
DSM-IV