Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์, นศพต.สุปรียา พงษ์สววรรค์ เลขที่ 68 - Coggle…
ผู้มีความผิดปกติทางด้านอารมณ์
Depressive disorder
เกณฑ์วินิจฉัย
โรคซึมเศร้าตาม ICD-10
F33 Recurrent depressive disorder
F34 Dersistant mood disorder
F32 Depressive episode
เกณฑ์การวินิจฉัย major depressive disorder ตาม DSM-5
C อาการไม่ได้เป็นผลจากด้านสรีรวิทยา
ภาวะความเจ็บป่วยอื่น
D อาการ major depressive disorder ไม่ใช่
อาการของโรคทางจิตเวชอื่นๆ
B อาการทำให้ loss of function
E ไม่เคยมี manic episode/hypomanic episode
A มีอาการ 5(ใน9อาการ) โดยมีอาการข้อ1 และ 2 อย่างน้อย1อาการ ร่วมกันนาน2 wk
มีอารมณ์ซึมเศร้าแทบทุกวัน
ความสุขในกิจกรรมลดลง
นน ลด>5% ต่อเดือน/เบื่ออาหาร
นอนไม่หลับ/หลับมากไป
phychomotor agitation(อยู่ไม่นิ่ง)
Retardation อยู่นิ่งๆไม่เคลื่อนไหว
อ่อนเพลีย ไร้แรง
รู้สึกไร้ค่า
สมาธิ/ความสามารถด้านการคิดการอ่านลดลง
คิดฆ่าตัวตาย
เกณฑ์การวินิจฉัย
โรคซึมเศร้าเรื้อรัง
เบื่ออาหาร
นอนไม่หลับ/นอนมาก
อ่อนแรง
self-esteem ต่ำ
สมาธิไม่ดี ตัดสินใจยาก
รู้สึกหมดหวัง
D อาจมี major depressionต่อเนื่อง-2ปี
E ไม่เคยมี manic/ hypomanic/ cyclothymic
C มีอาการแบบไม่ขาดช่วง
F ไม่ใช่อาการทางจิตเวชอื่นๆ
B มีอาการดังต่อไปนี้อย่างน้อย2อาการ
G อาการไม่ได้มาจากยา/สารเสพติด
A มีอาการซึมเศร้าอย่างน้อย 2 ปี
H อาการทำให้เกิดความทุกข์ + loss of function
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเกิดภาวะซึมเศร้า
ด้านชีวภาพ
Genetic theory
รุ่นลูกเสี่ยงมากขึ้น
แฝดแท้สูงกว่าแฝดเทียม
Biochemica theory of depression
เกิดจากขาดสมดุล neurotransmitter ลดลงserotonin
serotonin
norepinephrine
dopamine
ด้านความคิดและการรับรู้
ภาวะซึมเศร้าเกิดจากความ
ด้านลบเกี่ยวกับตนเอง
อุบัติการณ์
อย่าร้างแยกทางอยู่คนเดียว
ญ>ช 2:1
การบำบัดรักษา
การจัดสิ่งแวดล้อม
สร้างบรรยากาศอบอุ่น เป็นมิตร
จัดกิจกรรมเหมาะสม
การบำบัดรักษาทางกาย
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การจำกัดพฤติกรรม
ให้การดูแลใกล้ชิด
ผูกมัดให้ปลอดภัย
ระบายความรู้สึกทุก30นาที
การรักษาด้วยยา : ต้านอาการเศร้า
สร้างทัศนคติที่ดีต่อการทานยา
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ
บอกผลข้างเคียงของยา
สร้างกำลังใจที่ดี
การบำบัดทางใจ
ทางปัญญา
สัมพันธภาพระหว่างบุคคล
จิตวิเคราะห์ระยะสั้น
ความคิดและพฤติกรรม
ปฏิสัมพันธ์ ฝึกทักษะ
การแก้ปัญหา
Bipolar disorder
Cyclothymic disorder
การวินิจฉัยตามเกณฑ์ DSM5
A มีอาการของ hypomanic/depressive
แต่ไม่ครบตามเกณฑ์ อย่างน้อย2ปี
B ใน2ปี ต้องมีอาการเกินครึ่งของเวลา
และไม่ขาดอาการนานกว่า2เดือน
C ไม่เคยมี major depressive episode
manic episode,hypomanic
D อาการข้อA ไม่ใช่อาการโรคทางจิตอื่นๆ
E อาการไม่ได้เป็นผลจากยา
F อาการนี้ทำให้เกิดความทุกข์
การบำบัดรักษา
การจัดสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมที่ใช้พลังงาน
ออกกำลังกาย นันทนาการ
การทำจิตบำบัด
บำบัดความคิด พฤติกรรม
ทำจิตบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคล สังคม
เน้นแรงสนับสนุนในครอบครัว
การสอน
การจัดการดำเนิน
การสนับสนุน
การบำบัดทางกาย
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การจำกัดพฤติกรรม
Hypomanic
การวินิจฉัยตามเกณฑ์ DSM5
A สนุกสนานผิดปกติ สลับหงุดหงิด นาน4วัน
B มีอาการต่อไปนี้ 3-4อาการ
C ระยะที่มีอาการไม่สัมพันธ์กับลักษณะประจำตัว
D ผู้อื่นสังเกตเห็นความผิดปกติ
E อาการไม่รุนแรงมากพอ/ไม่ loss of funtion
F อาการไม่ได้มากจากยา/สารเสพติด
Bipolar II disorder
A มีอาการเข้าเกณฑ์ hypomanic episode อย่างน้อย1อาการ/major depressive episode อย่างน้อย1อาการ
B ไม่เคยมีอาการ manic
C hypomanic /major depressive episode
ไม่ใช่อาการโรคทางจิตอื่นๆ
D อาการนี้ทำให้เกิดความทุกข์
มี self esteem มากขึ้น
พูดมากผิดปกติ
นอนน้อยลง
Flight of idea
มีกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมายมากขึ้น
วอกแวก
หมกมุ่นกับกิจกรรมที่ทำให้เพลิดเพลิน
กิจกรรมการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อผู้อื่น
ท่าทางเป็นมิตร
ประเมินพฤติกรรมก้าวร้าว
ให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก
ดูแลสิ่งแวดล้อม เงียบสงบ เก็บของมีคม
ทำกิจกรรมบำบัด
เสริมแรงทางบวก
เฝ้าระวังอาการคลุ้มคลั่ง
ดูแลให้ได้รับยา
manic episode
Bipolar I disorder
A มีอาการของ manic episode อย่างน้อย1ครั้ง
B manic episode/major depressive episode
ไม่ใช่อาการโรคทางจิตอื่นๆ
คิดว่าตนยิ่งใหญ่
พูดมากกว่าปกติ
Flight of idea
ต้องการนอนลดลง
วอกแวก
มีกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมายมากขึ้น
หมกมุ่นกับกิจกรรมที่ทำให้เพลิดเพลิน
การวินิจฉัยตามเกณฑ์ DSM5
A อารมณ์ขึ้นๆลงๆ > 1 wk
B มีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 3 อาการ
C ทำให้บกพร่องชีวิตประจำวัน
D อาการไม่ได้มากจากยา/สารเสพติด
นศพต.สุปรียา พงษ์สววรรค์ เลขที่ 68