Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างของระบบปฏิบัฏิติบัติการ - Coggle Diagram
โครงสร้างของระบบปฏิบัฏิติบัติการ
ความหมาย
ส่วนย่อย ๆ หลาย ๆ ส่วน แต่ละส่วนมีหน้าที่รับผิดชอบ การทํางานในแต่ละด้านโดยไม่คาบเกี่ยวกันแต่ สัมพันธ์กัน การทํางานของ ระบบปฏิบัติการออกเป็นชั้นๆ ตามลําดับ ของการทํางานที่มีความเกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์และผู้ใช้จาก มากไปน้อย
ระดับชั้นการทํางานของ OS
โปรแกรมทั่วไปหรือผู้ใช้เอง
ระบบปฏิบัติการ (OS)
ฮาร์ดแวร์ของ
เครื่องคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์
ระบบปฏิบัติการ (OS)
โปรแกรมทั่วไปหรือผู้ใช้เอง
ระดับชั้นการทํางานภายในระบบปฏิบัติการ (OS)
เคอร์เนล (KERNEL)
รับผิดชอบงานต่าง ๆ ของขั้นตอนของระบบปฏิบัติการ ประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ พื้นฐาน 3 ส่วน คือ
1.ตัวส่ง - จัดการส่งขั้นตอนเข้าไปให้ซีพียู
2.ตัวจัดการอินเตอร์รัพต์ขั้นแรก - วิเคราะห์การอินเตอร์รัพต์ ที่เกิดขึ้น และเลือกใช้รูทีนที่เหมาะสม
3.ตัวควบคุมมอนิเตอร์ - ควบคุมดูแลการเข้าถึงมอนิเตอร์ ต่าง ๆ ของระบบ
ผู้จัดการหน่วยความจํา (MEMORY MANAGER)
จัดการเกี่ยวกับหน่วยความจําของระบบ เช่น การทําหน่วยความ จําเหมือนระบบหน้า
ในส่วนของผู้จัดการหน่วยความจําจึงมีลักษณะขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์ด้วยเช่นเดียวกัน บางครั้งการทํางานในชั้นนี่ก็อาศัย รูทีนบางอย่างของเคอร์เนลด้วย
ระบบ ควบคุมอินพุต-เอาต์พุต
(INPUT-OUTPUT CONTROL SYSTEM)
IOCS จัดการงานทางด้านอินพุตเอาพุตของระบบ มีลักษณะ ขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์อยู่บ้าง เพราะการติดต่อกับอุปกรณ์อินพุต-เอาต์พุตต้องทราบโครงสร้างและการทํางานของอุปกรณ์นั้นๆ ด้วย นอกจากนี้ IOCS ยังต้องอาศัยรูทีนบางอย่าง ทั้งจาก
เคอร์เนล และผู้จัดการหน่วยความจําในการทํางานของมันอีก ด้วย
ผู้จัดการไฟล์ (FILE MANAGER)
จัดการงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับไฟล์ เช่น การ เก็บไฟล์ลงดิสก์ การ หาไฟล์ การอ่านข้องมูลของไฟล์ เป็นต้น ผู้จัดการไฟล์นี้
สามารถถูกออกแบบให้ไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์ (hardware independent) จะติดต่อกับฮาร์ดแวร์โดยเรียกผ่าน รูทีนต่าง ๆ ของเคอร์เนล ผู้จัดการหน่วยความจําและIOCS
ตัวคิวระยะสั้น
(SHORT-TERM SCHEDULER)
ที่มีลักษณะไม่ขึ้นอยู่กับฮาร์ดแวร์โดยสมบูรณ์
ทําหน้าที่จัดคิวของขั้นตอนในสถานะพร้อม (ready state) เมื่อใดที่ส่วนนี้ทํางาน มันจะคัดเลือกเอาขั้นตอนที่เหมาะที่สุด ในคิวของสถานะพร้อม เพื่อให้โปรเซสั้นเข้าไปครอบครอง ซีพียูที่วางอยู่ โดยเรียกใช้ตัวส่งในส่วนของเคอร์เนล
ผู้จัดการทรัพยากร
(RESOURCE MANAGER)
จัดสรรหาทรัพยากรอื่น ๆ ในระบบ บางครั้งตัวจัดคิวระยะสั้น และผู้จัดการทรัพยากรอยู่สลับที่กัน
เพราะหลังจากที่ตัวจัดคิวระยะสั้นส่งขั้นตอนเข้าไปในสถานะรัน แล้ว โปรเซสนั้นอาจต้องการทรัพยากรอื่น ๆ ในระบบ
ตัวจัดคิวระยะยาว
(LONG-TERM SCHEDULER)
เป็นชั้นของระบบปฏิบัติทีเริ่มมีความใกล้ชิดกับผู้ใช้และห่าง ไกลกับฮาร์ดแวร์ของเครื่องมากขึ้น
มีหน้าที่จัดการและควบคุมขั้นตอนต่าง ๆ ทั้งหมดในระบบ เช่น สร้างขั้นตอนต่าง ๆ ใหม่เข้ามาในระบบ และยุติขั้นตอน เมื่อการทํางานเสร็จสิ้นลง
ผู้แปลคําสั้ง
(COMMAND INTERPRETER)
1 more item...