Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย (The Roy Adaptation Model) - Coggle Diagram
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย (The Roy Adaptation Model)
3.อภิปราย Coping mechanism ของผู้ป่วยรายนี้
กระบวนการเผชิญปัญหา 2 กลไก
2.กลไกการคิดรู้ (Cognator subsystem)
กระบวนการรับรู้และการถ่ายทอดข้อมูล ผู้ป่วยยรายน้ี คือ ผู้ผู้ป่วยมีการรับรู้ว่าการเจ็บปวดครั้งนี้มีผลทำให้ร่างกายไม่แข็งแรงอ่อนแอและคิดว่าตัวเองมีโอกาสเจ็บป่วยสามและต้องมารับการรักษาอีก
กระบวนการตอบสนองทางอารมณ์ผู้ ผู้ป่วยรายนี้มีการตอบสนองทางอารมณ์เมื่อผู้ป่วยมีความเครียดรู้สึกไม่สบายใจผู้ป่วยจะจัดการอารมณ์โดยการร้องห้ายฟังเพลงและอ่านหนังสือเพื่อเบี่ยงเบนความเครียด
1.กลไกการควบคุม(Regulatorsubsystem)
-กรณีศึกษา จากกรณีศึกษากลไกลการควบคุมที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยรายนี้ คือ ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลด้วยเเผลที่เท้าข้างขวาโดยเเผลของผู้ป่วยรายนี้มีการติดเชื้อทำให้มีไข้ เเผลมีเนื้อตาย มีกลิ่นเหม็น เเละ ทำให้ผู้ป่วยปวดเเผล
1.อภิปรายพฤติกรรมการปรับตัวทั้ง4ด้าน
การปรับตัวทางด้านร่างกาย (Physiological function)
ประกอบด้วยการตอบสนองความต้องการด้านร่างกาย 5 ประการ และรวมถึงกระบวนการในร่างกายอีก 4 กระบวนการ
4)การมีกิจกรรมและการพักผ่อน(Activity and rest)=มีปัญหาด้านกิจกรรมหลังผู้ป่วยไม่สามารถเดินได้ด้วยตนเองและไม่สามารถทำงานด้วยตนเองได้
-สิ่งเร้าร่วม (Contexual stimuli) คือแบบแผนการ ดาเนินชีวิตหลังผ่าตัดผู้ป่วยไม่สามารถไปทำงานรับจ้างและทำกิจวตัรประจาวันได้ตามปกติ
1)การรับความรู้สึก(Sense)ผู้ป่วยมีอาการปวดแผล
-เป็นสิ่งเร้าตรง(Focal stimuli)เป็นสิ่งที่ผู้ป่วยกำลังเผชิญอยู่
2)โภชนาการ(Nutrition)= เป็นสิ่งเร้าแฝงเพราะผู้ป่วยชอบรับประทานอาหาร
และผลไม้ที่มีรสหวาน
2)การได้รับสารน้ำ อิเล็กโทรไลต์และสมดุล กรด-ด่าง=ไม่มีปัญหาเพราะหลังการผ่าตัดขาไม่มีการเสียเลือด
3)การขับถ่าย(Elimination)=ไม่มีในกรณีศึกษา
3)การทำหน้าที่ของระบบประสาท=ไม่มีปัญหาเพราะผู้ป่วยสามารถให้ความร่วมมือกับพยาบาลในการรักษาเป็นอย่างดี
5)การปกป้องอันตราย(Protection)=ผู้ป่วยรายนี้มีปั้ญหาเนื่องจากมีแผลติดเชื้อที่เท้าข้างขวาแผลมีเนื้อตายมีกลิ่นเหม็น แพทย์จึงให้การรักษาโดยการให้ยาปฏิชีวนะเพื่อควบคุมการติดเชื้อ
-เป็นสิ่งเร้าตรง(Focal stimuli)เป็นสิ่งที่เข้ามากระตุ้นให้ร่างกายมีการปรับตัว
4)การทำหน้าที่ของระบบต่อมไร้ท่อ=ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน
-เป็นสิ่งเร้าตรง(Focal stimuli)เป็นสิ่งที่ผู้ป่วยกำลังเผชิญอยู่
1)การรับออกซิเจน(Oxygen)=ไม่มีปัญหาเพราะผู้ป่วยสามารถหายใจได้เอง
การปรับตัวด้านอัตมโนทัศน์(Self-concept)
เป็นการปรับตัวเพื่อความมั่นคง ด้านจิตใจและจิตวิญญาณอัตมโนทัศน์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน
1)อัตมโนทัศน์ด้านร่างกาย (Physical self)
= ผลการปรับตัวสำเร็จเนื่องจาก ผู้ป่วยรายนี้ไม่พบปัญหาการเสียเลือด ไม่มีไข้ สัญญาณชีพปกติ แผลแห้งดี
2)อัตมโนทัศน์ส่วนบุคคล (Personal self)
= ผลการปรับตัวไม่มีประสิทธิภาพ ผู้ป่วยปรับตัวไม่สำเร็จเนื่องจากผู้ป่วยรู้สึกอาย ท้อแท้ สิ้นหวัง รู้สึกว่าตนเองไร้ค่า
สิ่งเร้าร่วม : ผู้ป่วยรู้สึกเครียด กังวล เนื่องจากสิ่งเร้าร่วมรอบตัวของผู้ป่วยมีผลไปในทางลบ ทำให้มีปัญหาในการปรับตัว
การปรับตัวด้านบทบาทหน้าที่ (Role function) เป็นการทำหน้าที่ของบุคคลในสังคม
บทบาทปฐมภูมิ เพศหญิง อายุ36ปี
เป็นสิ่งเร้าร่วม เพราะเพศและอายุเป็นองค์ประกอบหนึ่งของสิ่งเร้าร่วม
บทบาททุติยภูมิ
= มีอาชีพรับจ้างรายวัน และเป็นภรรยา
เป็นสิ่งเร้าตรง ผู้ป่วยกำลังเผชิญในขณะนั้น
= ผู้ป่วยมีปัญหาเนื่องจาก กลัวว่าตัดขาแล้วจะเดินไม่ได้ จะไม่สามารถทำงานได้และกลัวว่าจะเป็นภาระให้สามี
บทบาทตติยภูม
= บทบาทการเป็นผู้ป่วย
เป็นสิ่งเร้าแฝง เพราะผลมาจากประสบการณ์ในอดีต
เนื่องจากผู้ป่วยละเลยการดูแลสุขภาพของตนเอง
= ผู้ป่วยมีปัญหาเนื่องจากรับประทานยาไม่สม่ำเสมอ
ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ดีชอบรับประทานอาหารและ ผลไม้ที่มีรสหวาน
การปรับตัวด้านการพึ่งพาผู้อื่น(Interdependence)
ผลการวิเคราะห์
สามีมาเยี่ยมผู้ป่วยทุกวันและซักถามอาการผู้ป่วยทุกคร้ังที่มาเยี่ยม และพยาบาลได้ให้การรักษาเป็นอย่างดี ให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วย เข้ามาช่วยเหลือกิจวัตรประจำวันบางส่วนและสังเกตพฤติกรรมต่างๆของผู้ป่วย
2) อภิปรายสิ่งเร้าตรง สิ่งเร้าร่วมและสิ่งเร้าแฝงของปัญหาพฤติกรรมการปรับตัวในแต่ละด้านของผู้ป่วยรายนี้ ตามกรอบแนวคิดทฤษฎีการปรับตัวของรอย
สิ่งนำเข้า (Input)
สิ่งนาเข้า สู่ระบบการปรับตัวของบุคคลประกอบด้วย
สิ่งเร้าตรง (Focal stimuli)
เคสกรณีศึกษา
ผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวานมีแผลที่เท้าข้างขวา 5 วันแผลมีเนื้อตาย มีกลิ่นเหม็น และมีไข้ แพทย์จึงลงความเห็นว่ามีการติดเชื้อจึงได้รับการรักษาโดยการใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อควบคุมการติดเชื้อจากนั้นให้การรักษาโดยการตัดขาข้างขวาในระดับถ้าเข่าลงมา มีการปวดแผลเล็กน้อยถึงปานกลางในระดับ 3-5 คะแนน ได้รับยาแก้ปวดชนิดฉีดจากนั้นเปลี่ยนเป็นชนิดรับประทานทางปาก หลังการผ่าตัดผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดสูงเท่ากับ 216-310 mg% ได้รับการรักษาโดยการให้ยาอินซูลิบควบคุมน้ำตลาดในเลือดแบบชนิดฉีดเข้าชันผิวหนัง
สิ่งเร้าร่วม (Contexual stimuli)
ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ36ปี ผู้ป่วยเริ่มซึมลง ไม่ค่อยพูดคุย เเอบร้องไห้บ่อยครั้ง พยาบาลจึงเข้าไปพูดคุยกับผู้ป่วยพบว่า ผู้ป่วยกลัวว่าตัวขาเเล้วจะเดินไม่ได้ จะไม่สามารถทำงานได้
สิ่งเร้าแฝง (Residual Stimuli)
ผู้ป่วยมีประวัติเป็นเบาหวานมา5ปี อุปนิสัยส่วนตัว ชอบการเเต่งตัว รักสวยรักงาม ชอบเข้าสังคม มีนิสัยร่าเริง ผู้ป่วยรายนี้มาความเชื่อว่าการเจ็บป่วยครั้งนี้มีผลทำให้ร่างกาย อ่อนแอ คิดว่าตนเองมีการเจ็บป่วยซ้ำเเละต้องกลับมารับการรักษาอีก
Metaparadigm
= มโนทัศน์หลัก หรือทัศนะแม่บท เป็นกรอบ ขอบเขต หรือโครงสร้างทางความคิดหรือมโนมติในภาพรวมกว้าง ๆ ของศาสตร์สาขาทางการพยาบาล
สิ่งเเวดล้อม Environme
สิ่งเร้าภายในและภายนอกร่างกาย
เคสกรณีศึกษา
ขณะผู้ป่วยอยู่โรงพยาบาลเเพทย์เเละได้ให้การรักษาด้วยการให้ยาปฏิชีวนะเเละการรักษาด้วยการผ่าตัดโดยการตัดขาข้างขวาระดับใต้เข่าลงมาขณะที่ผู้ป่วยนอนพักรักษาตัวอยู่โรงพยาบาล พยาบาลได้ให้การรักษาโดยจัดสิ่งเเวดล้อมเเละให้คำปรึกษาเเก่ผู้ป่วยเป็นอย่างดี
บุคคล (Person)
เน้นการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม
เคสกรณีศึกษา
ขณะนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลผู้ป่วยรู้สึกตัวดี สื่อสารเข้าใจ และให้ความร่วมมือในการรักษาพยาบาลอย่างดี
สุขภาพ (Health)
ความสาเร็จในการปรับตัว การเอาชนะอุปสรรคต่างๆ ที่ ผ่านเข้ามาในชีวิต
เคสกรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีประวัติเป็นเบาหวานมา5ปี รับประทานยาไม่สม่าเสมอ ควบคุม ระดบัน้าตาลไดไ้ม่ดีชอบรับประทาน อาหารและผลไม้ที่มีรสหวาน ผู้ป่วยมา โรงพยาบาลด้วยเป็นแผลที่เท้าข้างขวา 5วัน แผลมีเน้ือตายมีกลิ่นเหมน็ และมีไข้แพทย์ลงความเห็นว่ามีการติดเชื้อ
การพยาบาล(Nursing)
ส่งเสริมการปรับตัวของบุคคล
เคสกรณีศึกษา ได้รับการรักษาโดยการให้ยาปฏิชีวนะ เพื่อควบคุมการติดเชื้อ จนสามารถควบคุมการติดเชื้อได้ไข้ลดลงจากนั้นให้การรักษาโดยการตัดขาข้างขวาใน ระดับใต้เข่าลงมาหลังการผ่าตัดผู้ป่วยรายน้ีไม่พบปัญหาการเสียเลือด ไม่มีไข้ สัญญาณชีพปกติแผลแห้งดียังคงได้รับยาปฏิชีวนะทางหลอดเลือดดพอย่างต่อเนื่อง หลัง จากนั้น ได้รับการรักษา โดยการให้ยาอินซูลินควบคุมน้ำตาลใน เลือดแบบชนิดฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง