Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ, อิสรา ปักกาสังข์ เลขที่ 23 - Coggle Diagram
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
ความหมาย
ส่วนย่อยๆหลายๆส่วนแต่ละส่วนมีหน้าทีรับผิดชอบการทํางานในแต่ละด้านโดยไม่คาบเกียวกันแต่ สัมพันธ์กันการทํางานของระบบปฏิบัติการออกเปนชันๆตามลําดับของการทํางานทีมีความเกียวข้องกับฮาร์ดแวร์และผู้ใช้จากมากไปน้อย
ระดับชันการทํางานของOS
โปรแกรมทัวไปหรือผู้ใช้เอง
ระบบปฏิบัติการ(OS)
ฮาร์ดแวร์ของเครืองคอมพิวเตอร
ระดับชันการทํางานภายในระบบปฏิบัติการ(OS)
เคอร์เนล (KERNEL)
รับผิดชอบงานต่าง ๆ ของขันตอนของระบบปฏิบัติการประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ พืนฐาน 3 ส่วน คือ1. ตัวส่ง - จัดการส่งขันตอนเข้าไปให้ซีพียู2. ตัวจัดการอินเตอร์รัพต์ขันแรก - วิเคราะห์การอินเตอร์รัพต์ทีเกิดขึน และเลือกใช้รูทีนทีเหมาะสม3. ตัวควบคุมมอนิเตอร์ - ควบคุมดูแลการเข้าถึงมอนิเตอร์ต่าง ๆ ของระบบ
ผู้จัดการหน่วยความจํา(MEMORY MANAGER)
จัดการเกียวกับหน่วยความจําของระบบ เช่น การทําหน่วยความจําเหมือนระบบหน้าในส่วนของผู้จัดการหน่วยความจํา จึงมีลักษณะขึนอยู่กับฮาร์ดแวร์ด้วยเช่นเดียวกัน บางครังการทํางานในชันนีก็อาศัยรูทีนบางอย่างของเคอร์เนลด้วย
ระบบ ควบคุมอินพุต-เอาต์พุต(INPUT-OUTPUT CONTROL SYSTEM
IOCS จัดการงานทางด้านอินพุตเอาพุตของระบบ มีลักษณะขึนอยู่กับฮาร์ดแวร์อยู่บ้าง เพราะการติดต่อกับอุปกรณ์อินพุต-เอาต์พุตต้องทราบโครงสร้างและการทํางานของอุปกรณ์นันๆด้วย นอกจากนี IOCS ยังต้องอาศัยรูทีนบางอย่าง ทังจากเคอร์เนล และผู้จัดการหน่วยความจําในการทํางานของมันอีกด้วย
ผู้จัดการไฟล์ (FILE MANAGER)
จัดการงานต่าง ๆ ทีเกียวกับไฟล์ เช่น การ เก็บไฟล์ลงดิสก์ การหาไฟล์ การอ่านข้องมูลของไฟล์ เปนต้น ผู้จัดการไฟล์นีสามารถถูกออกแบบให้ไม่ขึนกับฮาร์ดแวร์ (hardwareindependent) จะติดต่อกับฮาร์ดแวร์โดยเรียกผ่าน รูทีนต่าง ๆของเคอร์เนล ผู้จัดการหน่วยความจําและIOCS
ตัวคิวระยะสัน(SHORT-TERM SCHEDULER)
ทีมีลักษณะไม่ขึนอยู่กับฮาร์ดแวร์โดยสมบูรณ์ทําหน้าทีจัดคิวของขันตอนในสถานะพร้อม (ready state)เมือใดทีส่วนนีทํางาน มันจะคัดเลือกเอาขันตอนทีเหมาะทีสุดในคิวของสถานะพร้อม เพือให้โปรเซสันนเข้าไปครอบครองซีพียูทีวางอยู่ โดยเรียกใช้ตัวส่งในส่วนของเคอร์เนล
ผู้จัดการทรัพยากร(RESOURCE MANAGER)
จัดสรรหาทรัพยากรอืน ๆ ในระบบ บางครังตัวจัดคิวระยะสันและผู้จัดการทรัพยากรอยู่สลับทีกันเพราะหลังจากทีตัวจัดคิวระยะสันส่งขันตอนเข้าไปในสถานะรันแล้ว โปรเซสนันอาจต้องการทรัพยากรอืน ๆ ในระบบ
ตัวจัดคิวระยะยาว(LONG-TERM SCHEDULER)
เปนชันของระบบปฏิบัติทีเริมมีความใกล้ชิดกับผู้ใช้และห่างไกลกับฮาร์ดแวร์ของเครืองมากขึนมีหน้าทีจัดการและควบคุมขันตอนต่าง ๆ ทังหมดในระบบเช่น สร้างขันตอนต่าง ๆ ใหม่เข้ามาในระบบ และยุติขันตอนเมือการทํางานเสร็จสินลง
ผู้แปลคําสัง(COMMAND INTERPRETER)
1 more item...
รูทีน คืออะไร
โปรแกรมย่อยต่างๆ ของโปรแกรมระบบปฏิบัติการของผู้ใช้เพือปฏิบตัิสิงทีผู้ใช้ต้องการ
อิสรา ปักกาสังข์ เลขที่ 23