Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ และการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และพลังงาน …
การบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้
และการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และพลังงาน
การบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้
ความหมายของแหล่งเรียนรู้
เป็นการเรียนรู้ที่มีกำหนดเวลาเรียนยืดหยุ่น สอดคล้องกับความต้องการและความพร้อมของผู้เรียน การประเมินและการวัดผลการเรียนมีลักษณะเฉพาะที่สร้างขึ้นให้เหมาะสมกับการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
สภาพ สถานที่ หรือศูนย์รวมที่ประกอบด้วย ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ และกิจกรรมที่มีกระบวนการเรียนรู้ หรือกระบวนการเรียนการสอน ที่มีรูปแบบแตกต่างจากกระบวนการเรียนการสอนที่มีครูเป็นผู้สอน หรือศูนย์กลางการเรียนรู้
แหล่งข่าวสารข้อมูล สารสนเทศ แหล่งความรู้ทางวิทยาการและประสบการณ์ที่สนับสนุนส่งเสริมให้ผู้เรียน ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ แสวงหาความรู้และเรียนรู้ด้วยตนเอง
ความสำคัญของแหล่งเรียนรู้
แนวคิดของสุมน อมรวิวัฒน์
เป็นแหล่งศึกษาตามอัธยาศัย
เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต
เป็นแหล่งเสริมสร้างจินตนาการและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
เป็นแหล่งสร้างความรู้ ความคิด วิชาการ และประสบการณ์
เป็นแหล่งเสริมประสบการณ์ตรง
เป็นแหล่งปลูกฝังค่านิยมรักการอ่านและแหล่งศึกษาค้นคว้าแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
เป็นแหล่งส่งเสริมมิตรภาพความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนหรือผู้เป็นภูมิปัญญา
เป็นแหล่งสร้างความคิดเกิดอาชีพใหม่สู่ความเป็นสากล
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
เกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความถนัดและความสนใจของผู้เรียน
คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มีการฝึกทักษะ ฝึกกระบวนการคิดการจัดการ การเผชิญสถานการณ์
คิดเป็น ทำเป็น รักการอ่าน การเขียน
ประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
กิ่งแก้ว อารีรักษ์
เสริมสร้างการเรียนรู้ จนเกิดทักษะการแสวงหาข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
แหล่งการเรียนรู้เสริมสร้างการพัฒนาการคิด
กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เปลี่ยนเจตคติของครูและผู้เรียนที่มีต่อเนื้อหารายวิชา
กระตุ้นมุ่งเน้นลึกในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
พัฒนาทักษะการวิจัยและความเชื่อมั่นในตนเองในการค้นหาข้อมูล
ช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้ให้ลึกซึ้งขึ้น
เพิ่มผลสัมฤทธิ์ด้านวิชาการ
สรุป ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้
ผู้เรียนได้เรียนในสิ่งที่มีคุณค่า
ผู้เรียน สามารถเชื่อมโขงความรู้ท้องถิ่นสู่ความรู้สากลสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสภาพชีวิตจริง
เห็นความสำคัญของการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
มีส่วนร่วมในองค์กร
ได้เรียนรู้จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
หลักการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้
เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเอาชีวิตจริงของผู้เรียน ค้นหาความรู้ การสนใจใฝ่รู้ การรู้จักแก้ปัญหา
จัดบริเวณโรงเรียนให้เกิดแหล่งเรียนรู้และแหล่งสนับสนุนการเรียน
จัดศูนย์วิทยาการให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
ปรับสภาพสถานที่เรียน ให้ผู้เรียนด้วยตนเองมากที่สุด
จัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จัดทรัพยากรในแหล่งเรียนรู้ให้เพียงพอ
มีความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและชุมชน ในการดูแลสภาพแวดล้อมให้เป็น
บรรยากาศในแหล่งเรียนรู้ให้เป็นสภาพจริง หรือเสมือนสภาพจริง
ลักษณะของแหล่งเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นแหล่งวิชาการ
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นแห่ล่งธรรมชาติ
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นบุคคล
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นสื่อ
การจัดกระบวนการใช้แหล่งเรียนรู้
เสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ในโรงเรียน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จัดระบบและพัฒนาเครือข่ายสารสนเทศ และแหล่งการเรียนรู้ใน โรงเรียน
พัฒนาโรงเรียนให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีแหล่งข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ วิทยาการ และสร้างเสริมประสบการณ์ที่กว้างขวางหลากหลาย
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้ เป็นผู้ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
แหล่งเรียนรู้
แหล่งเรียนรู้ด้านบุคลากร
เป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ มีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ
ความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
แหล่งเรียนรู้ที่เป็นสถานที่
พิพิธภัณฑ์
สถานศึกษา
สวนสัตว์
ย่านธุรกิจ
ที่ทำการของรัฐ
การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ความหมาย
สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตเกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้น
ความหมายของสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
สรรพสิ่งข้อกำหนด กฎเกณฑ์ และกิจกรรมทั้งหลายที่อยู่รอบมนุษย์
มนุษย์สร้างขึ้น
สภาพแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
สภาพการณ์ของสิ่งต่างๆ ที่อยู่หรือเกิดขึ้นในสถานศึกษาทั้งที่เป็นวัตถุ สิ่งของ ตัวบุคคล วิธีการ หรือกระบวนการต่างๆ
เบอร์นาร์ด
ความตระหนักถึงปัญหา เพื่อแสวงหาแนวทางแก้ปัญหา
เพื่อจูงใจให้มีการสร้างพฤติกรรมที่รับผิดชอบ
ความรู้เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคมวัฒนธรรม
ความสำคัญของสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
การคงอยู่ของสิ่งมีชีวิต โดยเป็นองค์ประกอบของชีวิตและเป็นอาหาร
สิ่งแวดล้อมเป็นกำหนดลักษณะการดำรงชีวิตของมนุษย์
มีอิทธิพลต่อลักษณะที่อยู่อาศัย
สิ่งแวดล้อมมีความสำคัญต่อความเจริญรุ่งเรื่องและความผาสุกของมนุษยชาติ
มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน
ทางด้านวิชาการสิ่งแวดล้อม
ประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์และสิ่งแวดล้อมดี จะส่งผลให้ประชาชนในประเทศนั้นมีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดี
ประเภทของสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ (Natural Environment)
สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต (BioticEnvironment)
สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Environment)
สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-Made Environment)
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อมทางสังคม
การบริหารสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
สภาพแวดล้อมที่เป็นวัตถุ
ด้านการจัดการเรียนการสอน
การจัดบรรยากาศการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียน
ด้านการบริหารจัดการ
ได้แก่การดำเนินการใด ๆภายในโรงเรียนให้การปฏิบัติงานสำเร็จลงด้วยความร่วมมือร่วมใจของบุคคากร
การดำเนินงานอย่างมีระบบ ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือเกื้อกูลกันของบุคลากรทุกคนในโรงเรียน
พลังงาน
ความหมาย
เครื่องมือสำคัญ ในการบรรลุสู่เป้าหมายของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ให้การศึกษากับประชาชนเพื่อให้เกิดความตระหนักในความสำคัญและปัญหาของสิ่งแวดล้อม
เพื่อพัฒนาให้เกิดสังคมและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน ให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีจนถึงรุ่นลูกหลานในอนาคต ซึ่งกระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาจะเปลี่ยนพฤติกรรมของคนให้หันมาดูแลสิ่งแวดล้อมร่วมกัน
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน(Education for SustainableDevelopment)
ใช้ กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น
เน้นย้ำถึงการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติอย่างอนุรักษ์ไว้สำหรับอนาคต และมีความสุขกับปัจจุบันตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของสิ่งแวดล้อมศึกษา
ด้านความตระหนัก (Awareness)
ด้านเจตคติ (Attitude)
ด้านความรู้ความเข้าใจ(Knowledge)
ด้านทักษะ (Skill)
ด้านทักษะ (Skill)
ระดับการดำเนินงานของ โรงเรียนอีโคสคูล
การดำเนินงานของ โรงเรียนอีโคสคูล ระดับกลางIntermediate
การดำเนินงานของ โรงเรียนอีโคสคูล ระดับสูงAdvance
การดำเนินงานของ โรงเรียนอีโคสคูล ระดับต้นBeginner