Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคความวิตกกังวล (Anxiety Disorder) - Coggle Diagram
โรคความวิตกกังวล
(Anxiety Disorder)
กลัวเหตุการณ์ที่ยังไม่เกิดขึ้น กระทบต่อชีวิตประจำวัน
Panic disorder
“โรคตื่นตระหนก”
เกิดขึ้นรวดเร็วสูงสุดไม่เกิน 10 นาที มักหายในครึ่งชั่วโมง
สาเหตุ
ระบบประสาทอัตโนมัติ
ทำงาน ⬆️ เมื่อเจอสิ่งเร้าหรือหายไป
สารสื่อประสาท
Norepinephrine ⬆️
Serotonin ⬇️
GABA ⬇️
ระดับการทำงานผิดปกติในสมองส่วน
Limbic system frontal lobe
Temporal cortex
ปัจจัยทางพันธุกรรม
เกณฑ์การวินิจฉัย
อย่างน้อย 4 อาการ
ใจสั่น แรง เร็ว
เหงื่อออก
สั่น
หายใจไม่อิ่ม
อึดอัดข้างใน
เจ็บแน่นหน้าอก
คลื่นไส้ วิงเวียน เดินเซ หมดสติ
รู้สึกตนเปลี่ยนไปจากเดิม (Depersonalization) หรือ สวล.เปลี่ยน (Derealization)
ควบคุมตนเองไม่ได้ บ้าหรือเสียสติ
กลัวตาย
ชาหรือซู่ซ่า (Paresthesia)
หนาวสั่นหรือร้อนวูบวาบ
หลัง panic attack มีอาการอย่างน้อย 1 ข้อ นาน 1 เดือน
กลัวเป็นซ้ำอีกและผลที่ตามมา
พฤติกรรมเปลี่ยนชัดเจน
การพยาบาล
ลดสิ่งกระตุ้น
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ อยู่เป็นเพื่อน
หายกลัว เปิดโอกาสให้ระบายสาเหตุ สิ่งกระตุ้น
ฝึกทักษะผ่อนคลายวิธีต่างๆ
Phobia Disordre
โรคกลัว
กลัวไม่สัมพันธ์กับอันตราย
สัมพันธ์กับอดีตท๊ผ่านมา
Agoraphobia
เกณฑ์การวินิจฉัย
กังวลมากในสถานการณ์ อย่างน้อย 2 ใน 5
ก.ใช้ระบบขนส่ง
ex. กลัวเครื่องบิน กลัวรถสาธารณะคนเยอะ
ก.อยู่ในที่เปิดโล่ง
ก.อยู่ในที่ปิด
ก.ยืนต่อแถวหรือท่ามกลางผู้คน
ก.ยืนอยู่นอกบ้านคนเดียว
คิดว่าหนีจากสถานการณ์ดังกล่าวลำบากหรือไม่ได้รับการช่วยเหลือ
พยายามหลีกเลี่ยงสถานการณ์หรือหาเพื่ออยู่ด้วย
รบกวนชีวิตประจำวัน
มักรักษาและตามด้วยอาการ Panic Disorder
Specific Pobia
“Simple Phobia”
กลัววัตถุสิ่งของหรือสถานการณ์บางอย่างที่รุนแรง ไร้เหตุผล
เผชิญสิ่งที่หลัง > กังวลทันที
ผู้ป่วยตระหนักดีว่าค.กลัวนั้นมากเกินควรและไม่มีเหตุผล
Aquaphobia กลัวน้ำ
Ailurrophobia กลัวแมว
Clautraphobia กลัวที่แคบ
Thanatophobia กลัวตาย
Acrophobia กลัวที่สูง
Brontophobia กลัวฟ้าร้อง
Mikrophobia กลัวเชื้อโรค
Social Phobia
กลัวรุนแรงและนานเกี่ยวกับการเข้าสังคมหรือกระทำบางอย่างกับคนไม่คุ้นเคย
มีผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน
ระบุ Generalized ถ้ากลัวแทบทุกสถานการณ์ทางสังคม
มีอาการนาน 6 เดือน
การพยาบาล
ลดสิ่งกระตุ้น
หลีกเลี่ยงการหาเหตุผลมาอธิบายหรือคาดคั้นให้ผู้ป่วยทำตาม
มั่นใจในความปลอดภัย
ร่วมประเมินปัญหาและให้ผู้ป่วยหาทางเลือกในการปฏิบัติด้วยตนเอง
ประยุกต์ใช้แนวคิดพฤติกรรมบำบัดช่วยควบคุมค.กลัว
Obsessive - Compulsive
and
Related Disorder
หมกมุ่น ทำให้พฤติกรรมหรือความคิดซ้ำๆ
Obsessive- Compulsive Disorder (OCD)
Obsessive คิดซ้ำ ผุดขึ้นมาเอง โดยไม่ต้องการ
Compulsion กระทำหรือคิดซ้ำ เพื่อตอบสนอง obsession
การพยาบาล
ถ้ามีแผล ให้ทำแผลก่อน
ไม่ควรยับยั้งหรือห้ามผู้ป่วยทำพฤติกรรมซ้ำๆ
ไม่ตำหนิหรือหาสาเหตุ
จัดตารางกิจกรรม เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ
Body Dysmorphic Disorder
คิดว่าร่างกายตนผิดปกติไป โดยความจริงไม่ใช่
คิว่ามีรอยย่นบนใบหน้า ริ้วรอย จุดด่างดำ
ไม่รวมกับค.อ้วน/นน.
Hoarding Disorder
ชอบเก็บสะสม
Trichotillomania (Hair - Pulling Disorder)
ชอบดึงผมและห้ามตนเองดึงผมซ้ำๆ
Excoriation (Skin - Picking) Disorder
แคะ/แกะผิวหนังซ้ำๆ
Acute Stress Disorder
เหตุการณ์ > บาดเจ็บทางจิตใจ
เกิดอย่างน้อย 3 วัน - 4 สัปดาห์
ผู้ป่วยเผชิญหรือเฉียดตายบาดเจ็บรุนแรง
เผชิญเหตุการณ์โดยตรง
เป็นผู้พบเห็น/พยาน
เหตุรุนแรงที่เกิดขึ้นกับคนรัก ครอบครัว เพื่อนสนิท
รับรู้รายละเอียดแย่ๆซ้ำๆ
ex. ตำรวจ หน่วยกู้ภัย
มีอาการอย่างน้อย 9 อาการ จาก 5 กลุ่ม
Intrusion
ค.ทรงจำร้ายๆ
ฝันร้าย
มีก.กระทำ/รส.เหมือนเหตุการณ์เกิดขึ้นมาอีก
ทุกข์ใจ เมื่อเจอเหตุการณ์คล้าย
Avoidance Symptom
หลีกเลี่ยงความทรงจำเหตุการณ์นั้น
หลีกเลี่ยงสิ่งภายนอกที่ทำให้นึกถึงเหตุการณ์นั้น
ex. คน สถานที่ บทสนทนา
Negative Mood
มีอารมณ์เปลี่ยนไปทางลบ
Dissociative Symptoms
มีการ ปป. การรับรู้ค.จริงใน สวล.หรือก.รับรู้ตนเอง
ไม่สามารถจำส่วนสำคัญของเหตุการณ์นั้น
Arousal Symptom
ปัญหาก.นอนหลับ
หงุดหงิดและโกรธง่าย
ระแวงระวังมากไป
ปัญหาด้านสมาธิ
14.ตกใจมากกว่าปกติ
ไม่ได้เป็นผลมาจากการใช้สาร เช่น ยา/สารเสพติดหรือโรคทางกาย
Post - TraumaticStress Disorder (PTSD)
อาการเหมือน ASD
ระยะเวลา > 4 wks. หรือ > 1 เดือน
Acute/ASD
< 1 เดือน
Chronic/PTSD
มีอาการอย่างน้อย 6 เดือน > เครียด
การรักษา
ยาต้านค.วิตกกังวล
จิตบำบัดและพฤติกรรมบำบัด โดยวิธี Relaxation และ Desensitization
วิธีทางเลือกอื่นตามค.เหมาะสมปัญหาแต่ละบุคคล
ex. สร้างจินตนาการ ออกกำลังกาย นวดคลายเครียด ทำสมาธิ
Adjustment Disorder
ภายใน 3 เดือน ตั้งแต่เร่มภาวะกดดัน
เมื่อปัจจัยกดดันหายไป อาการอยู่ไม่เกิน 6 เดือน
ไม่ใช่ก.ตอบสนองต่อก.สูญเสียคนรัก
ไม่ได้เป็นผลจากการใช้สาร เช่น ยา/สารเสพติดหรือโรคทางกาย
การพยาบาล
เพื่อลดอาการ ปรับตัวและเผชิญปัญหาได้เหมาะสม
ใช้จิตบำบัดแบบประคับประคอง
หาสาเหตุ ให้ระบายปัญหา
ประเมินระดับค.รุนแรง
ส่งเสริมให้มีก.แก้ปัญหาที่ดีขึ้นและให้แรงเสริม
Generalized Anxiety Disorder
โรคคิดมาก
วิตกกังวลมากเกินกว่าเหตุต่อหลายๆเรื่อง นานอย่างน้อย 6 เดือน
❌ ควบคุมค.กังวลนี้ได้
มีอาการทางกาย 3 ใน 6 ข้อ (เด็ก 1 ข้อ) ช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา
กระวนกระวาย หรือตื่นเต้นจนทนไม่ได้
เหนื่อย อ่อนเพลียง่าย
ขาดสมาธิ มีปัญหาค.จำ
หงุดหงิด
กล้ามเนื้อตึงเครียด ปวดตึง
มีปัญหาการนอน
รบกวนต่อชีวิตประจำวัน
Somatic Symptom and Related Disorder
Somatic symptom disorder
อาการทางกาย 1 อาการขึ้นไป
แสดงออก
คิดอย่างต่อเนื่อง ไม่สมเหตุสมผลกับค.รุนแรง
วิตกกังวลสูงต่อเนื่อง
ทุ่มเทเวลาละกำลังมากไปกับอาการทางกาย
อาการทางกายไม่ต่อเนื่อง แต่ปฏิกิริยาตอบสนองที่ผิดกติคงอยู่ต่อเนื่อง (มากกว่า 6 เดือน)
ก.ดูแลรักษา
แพทย์ประจำตัวเพียงคนเดียว นัดพบสม่ำเสมอ
ตรวจรักษาเท่าที่จำเป็น
ให้ระบายค.รู้สึก พูดถึงปัญหาในชีวิต
ค.ต้องการทางจิตใจ > ทางกาย
Illness anxiety disorder
หมกหมุ่นว่าตนป่วยเป็นโรคร้ายแรง ex. มะเร็ง
ไม่พบอาการทางกายถ้ามีก็ไม่รุนแรง
หมกหมุ่นนานเกิน 6 เดือน โดยอาจเปลี่ยนชนิดโรคที่กลัวไปเรื่อยๆ
การดูแลรักษา
นัดพบสม่ำเสมอ
หลีกเลี่ยงก.ตรวจพิเศษที่ไม่จำเป็น
ให้ระบายค.รู้สึกและพูดถึงปัญหา
Conversion disorder
เกิดกับ sensory organ, motor organ
อัมพาตแขนขา มองไม่เห็น หูไม่ได้ยิน พูดไม่มีเสียงหรือเสียงแหบ
ทุกข์ทรมาน ไม่สามารถดำเนินชีวิตตามปกติได้
มักพบร่วมกับ primary and secondary gain
การดูแลรักษา
ป้องกัน secondary gain
ถ้าเกิดใช้ พฤติกรรมบำบัด
ไม่ควรบอกตรงๆว่าไม่พยอาการผิดปกติ
แสดท่าทางอ่อนโยน เข้าใจ ชักจูงผู้ป่วยว่าอาการดีขึ้นเรื่อยๆ
Fictitious disorder
แสร้งทำอาการทางกายหรือทางจิต
แกล้งป่วย แม้ไม่ได้สิ่งตอบแทน
ต่างจาก Malingerling ที่ ผุ้ป่วยหวังผลประโยชน์
การดูแลรักษา
เข้าใจพฤติกรรมผู้ป่วย
ไม่ส่งตรวจพิเศษหรือรักษาเกินค.จำเป็น
แจ้งผลตรวจแบบตรงไปรวมา ไม่ใช่อารมณ์
เสริมแรงเมื่อหายจากแสร้ง ให้กำลังใจ
แนวทางปฏิบัตการพยาบาล
ยอมรับพฤติกรรมผู้ป่วย ไม่ตัดสิน
ให้ความสนใจผู้ป่วย ไม่ทำเฉยต่ออาการทางกาย
ให้ระบายค.รู้สึกอย่างอิสระ
หลีกเลี่ยงการเพิ่ม secondary gain
จัดกลุ่มกิจกรรมที่ส่งเสริมการระบายค.ไม่สบายใจ
จิตบำบัดเพื่อเข้าใจตนเอง
ปรับพฤติกรรมให้แรงเสริม เมื่อแสดงพฤติกรรมเหมาะสม
อาการร่วม
Primary gain
อาการผิดปกติทางกาย เพื่อค.วิตกกังวลหายไป
Secondary gain
ค.ผิดปกติทางกายทำให้ผู้ป่วยได้ผลประโยชน์
La belle indifference
Pt แสดงค.เฉยเมยเหมือนไม่กังวล
Identification
อาการเสมือนคนเองเป็นบุคคลสำคัญในชีวิต
Behavior modification
ให้รางวัลถ้าอาการดีขึ้น
Systemic desensitization
ลดค.วิตกกังวลอย่างเป็นระบบ ใช้หลัก classical conditioning จัดค.กังวลน้อยไปมาก
Reinforcement
ก.ให้แรงเสริม ใช้หลัก operant conditioning