Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 82 ปี 26626C35-084E-470D-8EB3-00D6636377C5 - Coggle…
ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 82 ปี
DX. dizziness and giddiness อาการเวียนศรีษะ
Pt : ผ่าตัดทำทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ CABG-Coronary Artery Bypass Grafting
ได้รับยา - Atenolone 50 mg
โดยการยับยั้งการทำงานต่อหัวใจและหลอดเลือดของสารเคมีในร่างกายของผู้ป่วย
ส่งผลให้เข้าไปลดอัตราการเต้นของหัวใจทำให้ อัตราการหายใจของผู้ป่วยต่ำลง
HR ของผู้ป่วย =
ส่งผลให้การไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่ดีโดยเฉพาะที่ต้องเผลฝ้าระวังคือเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
ผู้ป่วยมีอาการ มึนเวียนศรีษะ ปวดบริเวณท้ายทอย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่1
เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเนื่องจากมึนเวียนศรีษะ
5 more items...
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 4
พร่องกิจวัตรประจำวันเนื่องจากมึน เวียนศรีษะ
5 more items...
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 2
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอเนื่องจากการบีบตัวของหัวใจน้อยลงการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายไม่เพียงพอ
เกณฑ์การประเมินผล
HR ผู้ป่วยอยู่ระหว่าง
ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
กิจกรรมพยาบาล
1.ประเมินอาการและอาการแสดงของการที่เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
มีความผิดปกติทางการมองเห็นที่ดวงตาข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง โดยมีอาการตั้งแต่การมองเห็นภาพไม่ชัดจนถึงภาวะตาบอดช่วงสั้นๆ
อาการอ่อนแรงของนิ้วมือ มือ หรือทั้งแขนและขา หรือที่ร่างกายซีกใดซีกหนึ่ง หากเป็นขั้นรุนแรงก็อาจมีอาการอัมพาตครึ่งซีก
มีความบกพร่องทางการพูดช่วงคราว หรือระบบการทำความเข้าใจผิดปกติ
เกิดอาการต่อไปนี้ขึ้นมาอย่างกะทันหัน ได้แก่ รู้สึกเวียนศีรษะ มองไม่ชัด คลื่นไส้อาเจียน ขาทั้งสองข้างอ่อนแรง และมองเห็นภาพซ้อน
อาการที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันเป็นสัญญาณเตือนถึงความเสียหายชั่วคราวที่เกิดขึ้นกับการไหลเวียนของเลือดไปสู่สมอง
เกิดอารมณ์สับสนเป็นเวลานานโดยไม่มีอาการหมดสติ
วัตถุประสงค์
เพื่อเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะที่เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
ประเมินผล
วันที่ 25/05/65
HR ของผู้ป่วย = 52
ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
ข้อมูลสนับสนุน
HR = 46 /min BP = 148/72 mmHg
BMI =
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 5
มีภาวะโภชนาการเกินเนื่องจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่เหมาะสม
เกณฑ์การประเมินผล
ลดการกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์และให้แคลอรีสูง
ทำกิจกรรมในชีวิตประจำวันมากขึ้น
กิจกรรมพยาบาล
อธิบายถึงอันตรายที่จะเกิดจากภาวะอ้วนเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความตระหนักและตั้งใจในการลดน้ำหนัก
ให้ความรู้เกี่ยวกับอาหารลดน้ำหนักที่มีประโยชน์ เช่น อาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ กินให้หลากหลาย ลดอาหารหวาน มัน เค็ม และขนมหวานที่ให้พลังงานสูง บริโภคผักและผลไม้ที่ไม่มีรสหวานจัดแทน และดื่มน้ำให้มากๆ
ให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วมในการคิดรายการอาหารสำหรับการลดน้ำหนัก
แนะนำให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมต่างๆโดยอาศัยสิ่งอำนวยความสะดวกให้น้อยลง เช่น การเดินขึ้นบันไดแทนการใช้ลิฟต์ การเดินระยะสั้นๆ แทนการนั่งรถ เป็นต้น
ให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วมในการเลือกกิจกรรมหรือการออกกำลังกายที่ผู้ป่วยชอบ และสามารถทำร่วมกับสมาชิกในครอบครัวได้เพื่อให้ผู้ป่วยมีกำลังใจและเกิดความเพลินเพลินทำให้มีโอกาสที่จะออกกำลังกายได้ต่อเนื่อง
แนะนำให้ชั่งน้ำหนักสัปดาห์ละ 1-2ครั้ง
วัตถุประสงค์
เพื่อให้คำแนะนำเกี่ยวกับการควบคุมน้ำหนักให้มีค่า BMI อยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้น
ประเมินผล
วันที่ 25/05/65
ผู้ป่วยเข้าใจคำแนะนำและยอมรับคำแนะนำของพยาบาล
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้ป่วยบอกว่า “ชอบรับประทานของทอด และเมื่อรับประทานอาหารจะรับประทานในปริมาณมาก
ผู้ป่วยบอกว่าชอบรับประทานของทอดเเละรับประทานอาหารในปริมาณมากต่อ 1 มื้อ
การดูแลรักษาและยาที่ได้รับ
Clopidogrel 75 mg - Enalapril 5 mg - Simvastatin 40 mg - Amlodipine 5 mg - Atenolone 50 mg
โรคประจำตัว
โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (Coronary artery disease
โรคไขมันในเลือดสูง (Dyslipidemia)
โรคความดันโลหิดตสูง (Hypertension)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 3
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากความดันโลหิตสูง (Hypertension) ได้แก่ หลอดเลือดสมองแตก
ข้อมูลสนับสนุน
O : มีความดันโลหิตสูง 148/72 mmHg.
วัตถุประสงค์
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความตระหนักในการดูแลตนเองอย่างต่อเนื่อง
เกณฑ์การประเมินผล
ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ ระหว่าง 120/80-139/89 mm/Hg
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมีแนวโน้มดีขึ้นหรืออยู่ในเกณฑ์ปกติ
กิจกรรมพยาบาล
ติดตามผลการตรวจวัดความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
แนะนำให้ผู้ป่วยสังเกตอาการผิดปกติที่บ่งบอกถึงการเกิดภาวะหลอดเลือดสมองแตกซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อน จากความดันโลหิตสูง เช่น คลื่นไส้อาเจียน ชาบริเวณปลายมือและปลายเท้า ใบหน้าบิดเบี้ยว กลืนลาบาก พูด ลำบาก สับสนมึนงง และไม่เข้าใจในสิ่งที่ผู้อื่นพูด เสียการทรงตัวและการเคลื่อนไหวร่างกาย
แนะนำการรับประทานอาหารที่ช่วยลดไขมันในเลือดแก่ผู้ป่วย โดยให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูงหรืออาหารที่มีคลอเลสเตอรอลสูง เช่น ของทอด และแนะนำให้ผู้สูงอายุเลือกใช้น้ำมันพืชที่ได้มาจากพืช เช่น น้ำมันมะกอก น้ำมันงา ในการประกอบมื้ออาหาร (ยกเว้นน้ำมันปาล์ม น้ำมันมะพร้าว) อีกทั้งให้ผู้สูงอายุลดอาหารเค็มเพื่อป้องกันการเกิดความดันโลหิตสูง
แนะนำให้ผู้สูงอายุระมัดระวังการเปลี่ยนท่าเนื่องจากอาจจะทำให้ความดันโลหิตเปลี่ยนแปลงและเกิดอุบัติเหตุได้
เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้ซักถามเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง
พูดคุยสร้างสัมพันธภาพกับผู้สูงอายุและญาติของผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
ประเมินผล
วันที่ 25/05/65
ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ คือ 136/74 mmHg
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการมีแนวโน้มดีขึ้นหรืออยู่ในเกณฑ์