Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ ยาระงับปวดลดไข้ ด้านการอักเสบ - Coggle Diagram
ยาต้านจุลชีพ ยาระงับปวดลดไข้ ด้านการอักเสบ
ยารักษาโรคปรสิต (Antiparasite agents)
ยาขับพยาธิ (Antiparasite Drugs)
ยาขับพยาธิตัวกลม (Nematodes)
Mebendazole
ออกฤทธ์ิฆ่าพยาธิตัวกลมทุกชนิด
กลไกการออกฤทธิ์ : ทําให้พยาธิตายโดยยับยั้งการดูดซึมน้ำตาล Glucose ที่ลําไส้ของพยาธิ
Pyrantel pamoate
ฆ่าพยาธิตัวกลมทุกชนิดได้ดี โดยเฉพาะพยาธิปากขอ
ออกฤทธิ์โดยทําให้พยาธิไม่มีแรงท่ีจะเกาะผนังลําไส้
Albendazole
ออกฤทธิ์ฆ่าพยาธิตัวกลม ฤทธิ์ฆ่าพยาธิปากขอได้ดีกว่า mebendazole และยังสามารถฆ่าพยาธิใบไม้
ในตับ, ตัวจี๊ดและตัวตืดได้
Thiabendazole
มีผลฆ่าตัวแก่ของพยาธิตัวกลมท่ีอยู่ในเนื้อหมู (Trichinella spiralis) ได้ จึงใช้ รักษาโรค Trichinosis
ยาขับพยาธิตัวแบน (Cestodes)
Niclosamide
มีผลฆ่า ตัวแก่ ของพยาธิตัวตืด หลายชนิด เช่น พยาธิตืดหมู, ตืดวัว, ตีดปลาและตืดสุนัข
วงจรชีวิตของพยาธิตืดหมูทําให้เกิด โรค cysticercosis ในสมองได้
ยาขับพยาธิใบไม้ (Trematodes)
Praziquantel
มีผลฆ่าพยาธิใบไม้และพยาธิตัวตืดท้ังตัวแก่และตัว อ่อนทุกชนิด
ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งการดูดซึมนํ้าตาลของลําไส้พยาธิ ทำให้ขาดพลังงาน
ยาต้านไวรัสเอดส์(Antiretrovirals,ARV)
ปัจจุบันยาต้าน HIV ที่มีใช้แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
ยากลุ่ม Nucleoside Reverse Transcriptase Inhibitors (NRTIs)
Zidovudine (AZT,ZDA,Retrovir)
Didanosine (ddI, Videx)
Zalcitabine (ddC, Hivid)
ยากลุ่ม Non-nuleoside Reverse Transcriptase Inhibitors (NNRTIs)
Nevirapine (NVP, Viramune)
Delavirdine (Rescriptor)
Efavirenz (EFV, Sustiva)
ยากลุ่ม Protease Inhibitors (PIs)
Saquinavir (Fortovase)
Saquinavir (Invirase)
Ritonavir (Norvir)
ยากลุ่ม Fusion inhibitor
Enfuvirtide
90 mg SC
ยาต้านไวรัส(Antiviral agents)
1.Nucleoside analogs
1.1 Purine
Vidarabine
เลือกใช้สําหรับรักษา herpes simplex encephalitis
หยดสารละลายเข้าทาง IV ใน8-12 ชม. ต่อเนื่อง 5-10วัน
อาการไม่พึงประสงค์ :n/v,น้ําหนักลด, luekopenia,thrombocytopenia
Acyclovir
มีท้ังรูปแบบรับประทานและยาใช้ภายนอก รักษาภาวะติดเชื้อไวรัส
อาการไม่พึงประสงค์ : n/v,diarrhea,headache
Valaciclovir
มีขอบข่ายการฆ่าเชื้อ
ยาถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารได้เร็ว -ขนาดยาที่ใช้ : Herpes zoster ให้ 1,000 mg วันละ 3 ครั้ง นาน7-14 วัน
Ganciclovir
มีประสิทธิภาพในการต้านเช้ืไวรัสดีกว่า acyclovir -การดูดซึมจากทางเดินอาหารน้อย
อาการไม่พึงประสงค์ : มีผลต่อระบบเลือดรุนแรงและเกิดบ่อย ได้แก่ neutropenia (25-50%)
1.2 Pyrimidine
Ribavirin
ข้อบ่งใช้ : infection,viral hepatitis,herpes
อาการไม่พึงประสงค์ : เกิดความผิด ปกติในระบบทางเดินอาหาร,โลหิต จาง,กดภูมิคุ้มกัน,teratogenic effect
2.Cyclic amines
Amantadine
ใช้ป้องกันและรักษาการติดเชื้อไวรัส Influenza A เท่าน้ัน
ดูดซึมจากทางเดินอาหารได้สมบูรณ์
อาการไม่พึงประสงค์ : ไม่รุนแรง แต่ถ้าใช้ยาขนาดสูงอาจเกิดอาการ ปวดศรีษะ,นอนไม่หลับ,หงุดหงิด,neutropenia
3.Other chemicals : phosphonoformic acid
4.Interferons
มีฤทธิ์ป้องกันไม่ให้ uninflected cell ติดเชื้อไวรัส
แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ
alpha
beta
gamma
ยาต้านเชื้อรา (Anti-fungal drugs)
Polyenes : amphotericin B
มี spectrum กว้างสามารถครอบคลุมเชื้อราที่ทําให้เกิดโรคสําคัญ ได้แก่ pathogenic yeast, dimorhic
fungi, molds
ก่อนเริ่มใช้ยาควร test dose ขนาดต่ําก่อน เพ่ือดูว่าผู้ป่วยทนต่อยาได้ หรือไม่
อาการไม่พึงประสงค์ : ไข้ หนาวสั่น ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเน้ือ และข้อ ความดันโลหิตต่ํา
พิษต่อไต โดยทั่วไปหน้าที่ของไตจะกลับมาปกติเม่ือหยุดใช้ยา
พิษต่อระบบเลือด อาจพบ thrombocytopenia, leukopenia
hypokalemia อาจเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้
Azoles : ketoconazole, itraconazole,fluconazole, voriconazole
increase toxic : cyclosporin,terfenadine, astemizole, cisapride, midazolam และ
prednisolone เป็นต้น
decrease effect : didanosine, antacid, H2-blocker, omeprazole, sucralfate
Allylamines : Terbinafine
มีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อราหลายชนิด โดยเฉพาะ Dermatophytes
มีทั้งชนิดรับประทานและใช้ทาภายนอก
ขนาดและวิธีใช้ : 250 mg OD x 2-4 wks หรือ ทาวันละ 1-2 ครั้งเป็นเวลา 2-4 wks
อาการไม่พึงประสงค์ : n/ ปวดท้อง การรับรสเปลี่ยนไป อาจพบ ASTALT เพิ่มข้ึน
Others : griseofulvin
ฤทธิ์ครอบคลุมเช้ือแคบ ยับย้ังได้เฉพาะเชื้อ Dermatophytes เท่านั้น
ขนาดและวิธีใช้ : 250-500 mg OD (ผลการรักษาไม่ดีเท่า terbinafine,itraconazole)
อาการไม่พึงประสงค์ : n/v
ยารักษาโรคมาเลเรีย (Anti-malarial drugs)
ยารักษาโรคมาลาเรีย แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ตามความสามารถใน การฆ่าเชื้อมาลาเรียที่อยู่ในตับ หรือเม็ดเลือดแดง
Tissue schizonticide ฆ่า schizont ของเชื้อในตับ
primaquine
สามารถฆ่า hypnozoite ของ P.O และ P.V ที่อยู่ในตับได้
มีผลฆ่า gametocyte ของเชื้อมาลาเรียท้ัง 4 ชนิด โดยเฉพาะ gametocyte ของเชื้อ
P.F ท่ีดื้อต่อ chloroquine จึงใช้เป็นยาป้องกันไม่ให้มีการติดต่อ แพร่กระจายของเชื้อจากผู้ป่วยท่ีเป็นโรคนี้ไปยังคนอื่นๆผ่านทางยุงได้
Blood schizontocides
ยาที่ฆ่า schizont ของเชื้อมาลาเรียในเม็ดเลือดแดง
ยาในกลุ่มนี้ทุกชนิด ใช้รักษาอาการไข้มาลาเรียได้ดีพอ ๆ กัน แต่จะเลือกใช้ยาอะไรรักษาโรคที่ เกิดจากเชื้อชนิดใด ต้องดูก่อนว่าเชื้อมาลาเรียนั้นดื้อต่อยาอะไรแล้วบ้าง
ยารักษาโรคบิด (Amebiasis)
ยาที่ใช้ในการรักษาโรคบิด แบ่งเป็น 3 กลุ่ม
Luminal amebicide ยาไม่ถูกดูดซึม จึงมีผลฆ่าเชื้อบิดเฉพาะในทางเดินอาหารเท่านั้น แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย ตามกลไกการออกฤทธิ์ คือ
Indirect-acting amebicide : ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อบิดโดยทางอ้อม
Direct-acting amebicide : มีผลฆ่าเชื้อบิดในลําไส้โดยตรง
ผลข้างเคียงสําคัญ : พิษต่อระบบประสาทถ้าใช้ขนาดสูงหรือนานเกินไป อาจทําให้ตาบอด ประสาทขาอาจเป็นอัมพาตได้
Tissue amebicid
ยามีผลฆ่าเชื้อบิดในเนื้อเยื่อต่าง ๆ เช่น ผนังลําไส้, เนื้อเยื่อตับ
ผลข้างเคียงสําคัญ คือ พิษต่อกล้ามเนื้อหัวใจทําให้ กล้ามเนื้อหัวใจตาย
Tissue and luminal amebicide
ยามีผลฆ่าเชื้อบิดได้ทั้งที่อยู่ในเนื้อเยื่อและในลําไส้
ยาต้านจุลชีพ(การใช้ยาอย่าสมเหตุสมผล)
หลักการใช้ พิจารณาปัจจัย 3 ประการ
เชื้อจุลชีพที่เป็นสาเหตุของโรค
ยาต้านจุลชีพ
สภาวะร่างกายของผู้ป่วย
ยาต้านแบคทีเรีย(Antibacterial drugs)
Bata-lactam Antibiotics
Penicillin
Natural penicillins
penicillin-G ใช้สําหรับนการติดเชื้อแกรมบวก
penicillin-V ใช้รักษาคอที่อักเสบที่เกิดจากเชื้อ streptococci
Penicillinase-resistant
Aminopenicillins
ampicillin การติดเชื้อในทางเดินอาหาร,การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
amoxycillin เป็นproduct ของ ampicillin
Antipseudomonal penicillin ขอบเขตการออกฤทธิ์กว้างข้ึน
Cephalosporins แบ่งเป็น 4 รุ่น
แกรมบวก
แกรมลบ
เชื้อPs.aruginosa
Anarobe ที่ไม่ใช้ออกซิเจน
อาการไม่พึงประสงค์
ปฏิกิริยาการแพ้ผิวหนัง
Hypoprothombinemia
การเกิดbiliary sludge ยา ceftriaxone จะตกผลึก sludge ในถุงนํ้าดี และ ท่อทางเดินนํ้าด
Carbapenems
Imipenem/cilastatin เข้าสู่ร่างกายจะถูกทําลายด้วยเอนไซม์
Meropenem มีความคงทนต่อ dehydropeptidase-l อาการชักลดลง
Ertapenem เป็นยาท่ีออกฤทธ์ิกว้าง
Doripenem ควรใช้ในกรณีดื้อต่อยาตัวอื่น
2.Review and Update on Macrolides
Aminoglycosides
ออกฤทธิ์ ทําลายเชื้อจุลินทรีย์โดยขึ้นกับความเข้มข้น
เป็นพิษต่อไตและหู ทําให้กล้ามเน้ืออ่อนแรง
ไม่ควรใช้ร่วมกับยา indomethacin,cephalosporin
Sulfonamides แบ่งกลุ่มยาตามความเร็วในการดูดซึมจากทางเดินอาหาร และการขับถ่าย ได้ดังนี้
ดูดซึมเร็วขับถ่ายเร็ว : sulfadiazine
ออกฤทธิ์นาน : sulfadoxine
ดูดซึมไม่ดี ออกฤทธ์ิในทางเดินอาหาร : sulfasalazine
ใช้ภายนอก : sulfacetamide,silver sulfadiazine
Tatracycline
ออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อครอบคลุมแบคทีเรียหลายชนิด จําแนกได้ 3 ประเภท คือ short acting, intermediate acting, long acting
ฤทธ์ิและพิษของยา คือ คลื่นไส้อาเจียน
มีผื่น ผิวหนังไวต่อแดดห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์
Chloramphenical
ออกฤทธ์ิกว้างครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียหลายชนิด
พบพิษต่อระบบเลือด
มีท้ังชนิดฉีด,ชนิดรับประทาน และในรูปแบบยาใช้ภายนอก
อาการเเพ้ เช่น ผื่นคัน มีเลือดออกตามผิวหนัง ในปาก เยื่อบุลําไส้ กระเพาะปัสสาวะ
ยาต้านวัณโรค(Anti-tuberculous drugs)
Para-aminosalicylic acid(PAS)
Bacteriostatic
อาการไม่พึงประสงค์นะ : คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย ผื่นตาม Isoniacid (INH) ตัว มีอาการตาบวมและตับอักเสบ
ยามีเม็ดขนาดใหญ่ รับประทานลําบาก
Pyrazinamide
Bacteriocidal
อาการไม่พึงประสงค์:ผื่นตามตัว ปวดข้อ ปวดท้อง ตับอักเสบ และhyperuricemia
Ethambutol
Bacteriostatic
อาการไม่พึงประสงค์:การมองเห็นภาพผิดปกติ ถ้าใช้ติดต่อกันนานๆ อาจทําให้เกิดการทําลาย เรตินา. ควรตรวจวัดสายตาช่วงที่ใช้ยานี้
Streptomycin
Bacteriocidal
for injection
มักใช้คู่กับยาอื่นทเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
อาการไม่พึงประสงค์:พิษต่อหู อาจทําให้หูหนวกได
Rifampcin
Bacteriocidal
อาการไม่พึงประสงค์:thombocytosis, ตับอักเสบ,ปัสสาวะสีส้มแดง
D/I:Ketoconzole,chloramphenicol
Isoniacid (INH)
Bacteriocidal
อาการไม่พึงประสงค์ : ตับอักเสบ
เป็นenzyme inhibitor มีผลขจัดยาอื่น