Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชายไทย อายุ 47 ปี - Coggle Diagram
ชายไทย อายุ 47 ปี
โรคลมชัก (Epilepsy)
ผู้ป่วยมีภาวะติดเตียง
ผู้ป่วยมีการเกิดแผลกดทับเนื่องจากการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง
Subjective data :จากการซักถามญาติ ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองไม่ได้แต่ยังเคลื่อนไหวร่างกายได้เล็กน้อย
Objective data: มีแผลกดทับ เกรด2 บริเวณก้นกก และส้นเท้าซ้าย
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินแผลกดทับเพื่อนำไปวางแผนการพยาบาลให้ถูกต้อง
2.พลิกตะแคงผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันแผลกดทับ
3.ทำแผลบริเวณแผลกดทับเพื่อ ช่วยให้แผลหายเร็ว
4.ใช้ที่นอนลมยางเพื่อลดการเกิดแผลกดทับ
5.ทำความสะอาดผิวหนังอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้ผิวหนังแห้ง
6.ดูแลสิ่งแวดล้อมไม่ให้เย็นจัดมากเกินไป ใช้โลชั่นหรือครีมทาผิวเพื่อป้องกันผิวหนังแห้ง
ผู้ป่วยมีอาการท้องผูกเนื่องจากการเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารและลำไส้ลดลง
Subjective data : ผู้ป่วยไม่ขับถ่ายอุจจาระมาเป็นเวลา 1 สัปดาห์
ผู้ป่วยเคลื่อนไหวตนเองได้น้อยและช่วยเหลือตนเองไม่ได้
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินการขับถ่าย ปวดท้อง แน่นท้อง เพื่อประเมินอาการท้องผูก
3.แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำอุ่นบ่อย ๆ หากไม่มีข้อจำกัดในการรักษา เพื่อกระตุ้นการทำงานของลำไส้และเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยขับถ่ายได้ง่ายขึ้น
4.แนะนำให้ผู้ป่วยนวดบริเวณหน้าท้องเพื่อให้ลำไส้มีการเคลื่อนไหว
2.ดูแลให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมหรือเคลื่อนไหวบนเตียง เพื่อกระตุ้นการทำงานของลำไส้
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีกากใยสูง เช่น ตำลึง ผักกาดขาว มะละกอสุก เพื่อกระตุ้นการขับถ่าย
ผู้ป่วยไม่สามารถดูแลตนเอง เกี่ยวกับกิจวัตรประจำวันได้ เนื่องจากแขนขาอ่อนแรงทั้ง 2ข้าง
Subjective data : ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกตินอนบนเตียงตลอด
Objective data: ผู้ป่วยเป็นโรคลมชัก และMotor power grade 3
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินความสามารถของผู้ป่วยในการทำกิจวัตรประจำวันและกำลังของกล้ามเนื้อแขนขาเพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนการพยาบาลตามระดับความสามารถของผู้ป่วย
2.แนะนำผู้ป่วยและญาติช่วยให้ผู้ป่วยได้ออกกำลังกาย Passive exercise แขนขาและข้อข้างอ่อนแรงอย่างสม่ำเสมอ
3.จัดให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ก่อนและหลังการออกกำลังกาย
จัดสิ่งของและเครื่องใช้ในการทำกิจวัตรประจำวันที่จำเป็นให้มองเห็นและหยิบจับได้ง่าย โดยวางด้านอ่อนแรง เพื่อกระตุ้นให้ผู้ป่วยสนใจส่วนของร่างกายที่อ่อนแรง
5.กระตุ้นให้ผู้ป่วยทำกิจกรรมและออกกำลังกายตามแนวทางการดูแลแบบIntermediate Careของนักกายภาพบำบัด
ให้กำลังใจเชิงบวกและประเมินผลการทำกิจกรรม ประเมินการเปลี่ยนแปลงความรู้สึกเกี่ยวกับภาพลักษณ์ที่เปลี่ยนไป อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงประโยชน์ของการฝึกทักษะและการทำกิจกรรมต่าง
สอน แนะนำให้ผู้ป่วยและญาติได้ช่วยให้ผู้ป่วยพลิกตะแคงตัวและจัดท่าบนเตียง ไม่นอนทับข้างอ่อนแรงนาน ๆ ควรเปลี่ยนท่าทุก 2 ชั่วโมง การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยได้ถูกต้อง ดูแลช่วยเหลือให้มีการเคลื่อนไหวและใช้อุปกรณ์ช่วยเดินที่ถูกต้อง
รายงานแพทย์เมื่อพบปัญหาในการทำกิจกรรมออกกำลังกายหรือทำกิจกรรมได้น้อยลง
ใช้เหล็กกั้นเตียงหลังให้การพยาบาลทุกครั้ง เพื่อป้องกันการตกเตียง
ผู้ป่วยมีภาวะสับสนเนื่องจากพยาธิสภาพของโรค
Subjective data : ญาติบอกว่าเป็นโรคเกี่ยวกับสมอง
Objective data : จากการสังเกตเห็น ผู้ป่วยสับสน ถามตอบไม่รู้เรื่อง สื่อสารไม่ได้ โรคประจำตัวเป็นลมชัก
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการทางระบบประสาท วัดสัญญาณชีพ เพื่อวางแผนการพยาบาล
2.ให้ผู้ป่วย ได้รับ ยา Valium 10 mg IV stat ตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการชัก
3.จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียสงบไม่มีเสียงรบกวน ดูแลเรื่องแสงสว่าง เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
4.ดูแลให้รับประทานอาหารให้ครบตามการรักษา เพื่อให้ได้รับสารอาหารเพียงพอ
5.พูดให้กำลังใจผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยมีความเครียดน้อยลง
6.ป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการชัก เพื่อป้องกันอันตรายจากการชัก
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเนื่องจากมีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหว
Subjective data : ญาติบอกว่าผู้ป่วยอ่อนเพลีย เดินไม่ได้
Objective data : ขณะผู้ป่วยลุกนั่งต้องมีคนช่วยยกตัวขึ้น,มีแผลบริเวณก้นกก เกรด2
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินลักษณะและขอบเขตของแผลเพื่อเตรียมทำแผลได้เหมาะสม
2.เตรียมอุปกรณ์ทำแผลให้เหมาะสมโดยยึดหลัก sterilization และทำแผลโดยใช้หลัก aseptic technic เพื่อให้แผลสะอาดและป้องกันการติดเชื้อ
3.ดูแลการพลิกตะตัวทุก 2 ชั่วโมง เพื่อลดแผลกดทับ
4.ดูแลผ้าปูที่นอนไม่ให้เปียกชื้น เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความสุขสบาย
5.ช่วยเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้องกันการเกิดแผลเพิ่ม
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการสำลักอาหารเนื่องจากกลืนอาหารเองไม่ดี
Subjective data : ผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ ,ผู้ป่วยมีการสำลักอาหาร 1-2 ครั้งผู้ป่วยมีการสำลักอาหาร 1-2 ครั้ง
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินการสำลักอาหาร
2.ปรับให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่งหรือศรีษะสูง 45-90 องศาเพื่อป้องกันการสำลักอาหาร
3.on NG tube ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานอาหารทางปากเองได้ อาหาร BD 1:1 เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารที่เพียงพอ
4.ดูแลสุขภาพช่องปาก เพื่อไม่ให้เกิดการติดเชื้อเพิ่ม
5.กระตุ้นการรับความรู้สึก เพื่อไม่ให้เกิดกลไกการกลืน ทั้งกายภาพและการใช้ยา
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการบาดเจ็บในระบบทางเดินอาหาร เนื่องจากผู้ป่วยต่อต้านและพยายามดึงสายให้อาหาร
Subjective data : ญาติบอกว่าผู้ป่วยเคยดึงสาย NG Tube ออกเอง
Objective data : จากการสังเกตพบว่าผู้ป่วยดึงสาย NG Tube ออกเอง ต่อต้านในการใส่สาย NG Tube ไม่ให้ความร่วมมือพยาบาลต้องมัดแขนไว้
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินตำแหน่งสาย NG Tube เพื่อตรวจสอบว่าสาย NG Tube อยู่ในกระเพาะอาหารหรือไม่
2.ประเมินสัญญาชีพเพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
3.ดูแลสายยางให้อาหารไม่ให้เลื่อนหลุด เช่น ติดสายNG Tube ด้วย Fixumoll หรือ Trasnspore ให้ยึดแน่นกับปลายจมูกของผู้ป่วยเพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของสาย NG Tube
4.สังเกตและเฝ้าระวังผู้ป่วยพยายามดึงสาย NG Tube ออกเพื่อป้องกันการบาดเจ็บในระบบทางเดินอาหาร
5.หากให้อาหารทางสาย NG Tube แล้วให้เก็บสายไว้เหนือศีรษะเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยดึงสาย NG Tube ออกเอง
6.หากผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือ พยายามดึงสายออกเองบ่อยๆให้ผูกมัดมือเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยดึงสาย NG Tube ออก
7.สังเกตบริเวณที่ใส่สาย NG Tube เช่น บริเวณจมูก ว่ามีการระคายเคืองหรือไม่เพื่อป้องกันการบาดเจ็บของผู้ป่วย
8.แนะนำให้ญาติสังเกตสาย NG Tube ว่ามีการเลื่อนหลุดหรือไม่เพื่อป้องกันการบาดเจ็บในระบบทางเดินอาหาร
โรคปอดอักเสบ (Pneumonia)
ผู้ป่วยมีการติดเชื้อที่ปอดเนื่องจากมีประวัติสำลัก ไอ และเสมหะเยอะ
Subjective data : ผู้ป่วยกินอาหารได้น้อย กลืนลำบาก
Objective data : ผู้ป่วยสำลักหลังรับประทานอาหาร ไอมีเสมหะ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง gag reflex เพื่อประเมินกล้ามเนื้อที่เกี่ยวกับการกลืน
2.ใส่ NG feed BD:1:1 300 cc *4 feed ตามแผนการรักษาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอ
3.ตรวจสอบสาย NG ว่าอยู่ในกระเพาะอาหารหรือไม่ก่อนให้อาหารทุกครั้ง เพื่อ ป้องกันสายเลื่อนหลุดจากกะเพราอาหาร
หลังให้อาหารให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 30-40องศา เป็นเวลา 30-60นาที เพื่อป้องกันการสำลัก
5.ให้ ceftriazone 2 g v OD ตามแผนการรักษาเพื่อฆ่าเชื้อ
6.ให้ Acetyl 10 mg v stat ตามแผนการรักษาเพื่อละลายเสมหะ
7.ติดตามผลLab เพื่อประเมินภาวะติดเชื้อ
ผลทางห้องปฏิบัติการ
WBC 117780 cell/mm3 (สูงกว่าปกติ)
Neutrophil 84 % (สูงกว่าปกติ)
Lymphocyte 8 % (ต่ำกว่าปกติ)
ญาติและผู้ป่วยมีความวิตกกังวล เนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
Subjective data : ญาติบอกว่ากังวลเกี่ยวกับอาการของผู้ป่วย
Objective data : จากการสังเกตพบว่าญาติมีสีหน้าวิตกกังวล ไม่สดชื่น เฝ้าข้างเตียงอยู่ตลอด
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินความ รู้ความเข้าใจของผู้ป่วยและญาติเพื่อวางแผนการให้คำแนะนำ
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วยและญาติเพื่อให้ผู้ป่วยไว้วางใจที่จะระบายความกังวล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยซักถามข้อสงสัยเพื่อที่พยาบาลจะได้อธิบายให้ผู้ป่วยเกิดความรู้ความเข้าใจ
เปิดโอกาสให้ญาติเล่าถึงความวิตกกังวลเพื่อให้ญาติได้ระบายความรู้สึก
แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดความวิตกกังวลเพื่อให้ผู้ป่วยและญาติปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
Fatigue & Leukocytosis (อ่อนเพลีย&ภาวะเม็ดเลือดขาวสูง)
Hct =38 แปรผลต่ำ , WBC =117780 แปรผลสูง
ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย เนื่องจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
Subjective data : ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย ญาติให้ข้อมูลว่า ผู้ป่วยถามตอบไม่ได้ สับสน รับรู้ได้เล็กน้อย
Objective data : จากการสังเกต ผู้ป่วยมีสีหน้าอ่อนเพลีย ที่แขนถูกมัด ผู้ป่วยให้ความร่วมมือในบางครั้ง
ค่า Hematocrit = 38 mg/dL (ต่ำกว่าปกติ)
Hematocrit = 38 mg/dL (ต่ำกว่าปกติ)
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินลักษณะการหายใจของผู้ป่วย สีหน้า สอบถามผู้ป่วยหรือญาติว่ามีอาการเหนื่อย อ่อนเพลียหรือไม่เพื่อนำไปวางแผนการพยาบาลที่ครอบคลุม
2.วัดสัญญาณชีพของผู้ป่วยทุก 4 ชั่วโมง บันทึกค่าการตรวจลงในกราฟ เพื่อติดตามค่าสัญญาณชีพของผู้ป่วยว่าอยู่ในช่วงเกณฑ์ปกติหรือไม่
3.ให้ยา Folic 1*1 po pc ตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อลดอาการอ่อนเพลียของผู้ป่วย หลังจากให้การพยาบาลผู้ป่วยมีการสังเกตอาการของผู้ป่วยว่ามีอาการเหนื่อย อ่อนเพลียหรือไม่ ถ้ามีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์
4.สอนให้ผู้ป่วยฝึกการหายใจที่มีประสิทธิภาพเพื่อทำให้การแลกเปลี่ยนก๊าซภายในร่างกายทำงานได้ดีขึ้น
5.จัดสิ่งแวดล้อมบริเวณเตียงผู้ป่วยให้มีอากาศถ่ายเท เพื่อทำให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวก อากาศสดชื่น