Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 59 ปี, image, image, image - Coggle Diagram
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 59 ปี
Dx : CA Nasopharynx
มะเร็งหลังโพรงจมูก
PI : มีอาการเจ็บคอและกลืนลำบาก มา 2 ปี ก่อนมา รพ.
1 เดือนก่อนมา รพ. ไปหาหมอที่ รพ.ตะกั่วป่า ส่งต่อมาที่ รพ.มะเร็งสุราษฎร์ธานี
ทำ biopsy ผลเป็น Non-keratinized SCCA
(squamous cell carcinomasชนิดไม่สร้างเคอราติน)
ทำ biopsy Rt node ผลเป็น Matas non-keratinized SCCA
วันนี้มานอนโรงพยาบาลเพื่อให้ยาเคมีบำบัด
CC : มานอนโรงพยาบาลเพื่อรับยาเคมีบำบัด
ผู้ป่วยได้รับยาเคมีบำบัด
สูตร Carboplatin/5-FU
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 1
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด 5-FU
ข้อมูลสนับสนุน
O : ผู้ป่วยได้รับยา 5-FU 650 mg + NSS 1000 ml. drip in 12 hrs. x 8 bottles D1-D4
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.อธิบายให้ครอบครัวและผู้ป่วยทราบชนิดของยาเคมีบำบัดที่ได้รับ ตลอดจนผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้น คือ อาการท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน เยื่อบุช่องปากอักเสบ ชาปลายมือปลายเท้า เล็บดำ
2.ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพของผู้ป่วยทุก 4 ชั่วโมง
เพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดจากการได้รับยาเคมีบำบัด
3.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา
Ondansetron 8 mg ทางหลอดเลือดดำก่อนการให้ยาเคมีบัด
เพื่อป้องกันอาการคลื่นไส้และอาเจียนที่เป็นผลมาจากยาเคมีบำบัด
และติดตามอาการข้างเคียงของยา เช่น ท้องเสีย หรือท้องผูก ปวดหัว ง่วงซึม หรือรู้สึกเหนื่อย
-Dexamethasone 8 mg ทางหลอดเลือดดำ ก่อนการให้ยาเคมีบำบัด
เพื่อป้องกันภาวะภูมิแพ้ ที่เกิดจากการได้รับเคมีบำบัดและติดตามอาการข้างเคียงของยา
เช่น มีอาการบวมที่มือหรือข้อเท้า นอนไม่หลับ อารมณ์แปรปรวนคลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องอืด
Dexamethasone 8 mg 1 x 2 o ac เพื่อป้องกันภาวะภูมิแพ้ ที่เกิดจากการได้รับเคมีบำบัดและติดตามอาการข้างเคียงของยา เช่น มีอาการบวมที่มือหรือข้อเท้า นอนไม่หลับ
อารมณ์แปรปรวนคลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องอืด
Metoclopramide 1 x 3 o ac เพื่อแก้อาการคลื่นไส้อาเจียนและติดตามผลข้างเคียงของยา
กระสับกระส่าย ง่วงซึม เหนื่อย เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
4.แนะนำให้ผู้ป่วยบ้วนปากด้วยน้ำเกลือทุกๆ 2 ชั่วโมง หลีกเลี่ยงการใช้แปรงสีฟันที่มีลักษณะแข็ง
เพื่อป้องกันเยื่อบุช่องปากอักเสบ ซึ่งเป็นผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
5.ขณะให้ยาเคมีบำบัดสังเกตบริเวณหลอดเลือดที่ให้ยาสม่ำเสมอ ว่ามีการอักเสบบวมแดงหรือไม่
เพื่อให้การดูแลรักษาอย่างทันท่วงที
6.หากมีการรั่วซึมให้หยุดการให้ยาเคมีบำบัดและดูดยาออกให้มากที่สุดด้วย Syringe
ขนาดเล็ก 1-3 ml รายงานแพทย์ทราบและเตรียม ยา Steroid cream ทาทุก 6 ชม อย่างน้อย 7 วัน หรือจนกว่าอาการบวมจะหายไป และประคบเย็นครั้งละประมาณ 20 นาที ทำซ้ำอย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง ในช่วง 1-2 วันแรก จากนั้นประคบวันละ 4ครั้งต่ออีก 2-3 วันแนะนำ ให้ผู้ป่วยยกบริเวณที่มีการรั่วซึมของยาสูงนาน 48 ชั่วโมง จนกว่าอาการบวมจะหายไป
การประเมินผล
25-27 พฤษภาคม 65
ผู้ป่วยไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ถ่ายเหลว ช่องปากผู้ป่วยสะอาด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 2
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด Carboplatin
ข้อมูลสนับสนุน
O : ผู้ป่วยได้รับ Carboplatin 420 mg + 5 % DW 250 ml IV over 3 hrs. D1
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.อธิบายให้ครอบครัวและผู้ป่วยทราบชนิดของยาเคมีบำบัดที่ได้รับ ตลอดจนผลข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้น
คือ หูอื้อ ภูมิแพ้ คลื่นไส้ อาเจียน ปัสสาวะแสบขัด ชาปลายมือปลายเท้า
2.ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพของผู้ป่วยเพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดจากการได้รับยาเคมีบำบัด
3.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Ondansetron 8 mg ทางหลอดเลือดดำก่อนการให้ยาเคมีบัด
เพื่อป้องกันอาการคลื่นไส้และอาเจียนที่เป็นผลมาจากยาเคมีบำบัด
และติดตามอาการข้างเคียงของยา เช่น ท้องเสีย หรือท้องผูก ปวดหัว ง่วงซึม หรือรู้สึกเหนื่อย
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยา Dexamethasone 20 mg ทางหลอดเลือดดำ
เพื่อป้องกันภาวะภูมิแพ้ ที่เกิดจากการได้รับเคมีบำบัดและติดตามอาการข้างเคียงของยา
เช่น มีอาการบวมที่มือหรือข้อเท้า นอนไม่หลับ อารมณ์แปรปรวนคลื่นไส้ ปวดท้อง ท้องอืด
5.แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำบ่อยๆ เพื่อป้องกันปัสสาวะแสบขัด ซึ่งเป็นผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
6.ขณะให้ยาเคมีบำบัดสังเกตบริเวณหลอดเลือดที่ให้ยาสม่ำเสมอ ว่ามีการอักเสบบวมแดงหรือไม่
เพื่อให้การดูแลรักษาอย่างทันท่วงที
7.หากมีการรั่วซึมให้หยุดการให้ยาเคมีบำบัดและดูดยาออกให้มากที่สุดด้วย Syringe ขนาดเล็ก 1-3 ml
รายงานแพทย์ทราบและเตรียม ยา Steroid cream ทาทุก 6 ชม อย่างน้อย 7 วัน หรือจนกว่าอาการบวมจะหายไป และประคบร้อนครั้งละประมาณ 20 นาที ทำซ้ำอย่างน้อยวันละ 4 ครั้ง ในช่วง 1-2 วันแรก จากนั้นประคบวันละ 4ครั้งต่ออีก 2-3 วันแนะนำ ให้ผู้ป่วยยกบริเวณที่มีการรั่วซึมของยาสูงนาน 48 ชั่วโมง จนกว่าอาการบวมจะหายไป
การประเมินผล
25-26 พฤษภาคม 65
ผู้ป่วยไม่มีอาการหูอื้อ ปัสสาวะแสบขัด
27 พฤษภาคม 65
ผู้ป่วยไม่มีอาการหูอื้อ
มีปัสสาวะแสบขัดเล็กน้อย
พยาธิสภาพ
Malignant Neoplasm หรือ Tumor อาจเรียกอีกอย่างว่า Cancer ซึ่งหมายถึง เป็นเนื้องอกร้ายแรงหรือมะเร็ง
ที่มีการเพิ่มจำนวนของเซลล์อย่างควบคุมไม่ได้
ที่มีการแทรกหรือรุกราน
ของเซลล์มะเร็งไปยังเนื้อเยื่อปกติ ที่เรียกว่า Invasion
เนื้องอกชนิดนี้อาจจะมีการแพร่กระจายไปเติบโตในเนื้อเยื่อหรืออวัยวะอื่น
มีการแพร่กระจายไปตามกระแสน้ำเหลือง
โดยการกระจายที่เกิดขึ้นจะขึ้นกับแนวทางการไหลเวียนของกระแสน้ำเหลือง
พบก้อนนูนที่บริเวณต่อมน้ำเหลืองที่คอของผู้ป่วย
2 more items...
พยาธิสภาพที่พบบ่อยที่สุด
คือ squamous cell carcinomas (SCC)
มะเร็งชนิดนี้เกิดจากเยื่อบุผิว
และอาจมีลักษณะที่เห็นด้วยตาเปล่า
มีลักษณะเป็นก้อนหรือตุ่มเล็กๆที่เรียกว่า
infiltrative ulcerative exophytic หรือ verrucous
มะเร็งของริมฝีปาก จมูก ช่องปาก และกล่องเสียงมักพบพยาธิสภาพแบบ well / moderately well-differentiated
พฤติกรรมเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรค
ผู้ป่วยไม่มีประวัติสูบบุหรี่ ดื่มสุรา หรือเคี้ยวหมาก
แต่แม่และน้องชายผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง
จาก 11 แบบแผนของกอร์ดอน
ผู้ป่วยมีปัญหาในแบบแผนที่ 10
แบบแผนด้านการปรับตัว
และความทนทานต่อความเครียด
ญาติผู้ป่วยบอกว่า ตนไม่ได้ทำงาน
ผู้ป่วยทำงานเป็นหลัก เมื่อป่วยก็ไปทำงานไม่ได้
รายจ่ายไม่ค่อยเพียงพอ
ญาติผู้ป่วยร้องไห้ขณะเล่าให้ฟัง
ผู้ป่วยมีสีหน้าวิตกกังวล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 4
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเนื่องจากปัญหาเศรษฐกิจ
ข้อมูลสนับสนุน
ญาติผู้ป่วยบอกว่า ตนไม่ได้ทำงาน ผู้ป่วยทำงานเป็นหลัก เมื่อป่วยก็ไปทำงานไม่ได้
รายจ่ายไม่ค่อยเพียงพอ
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.ประเมินความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ โดยการสังเกตสีหน้าของผู้ป่วยขณะพูดคุย พูดคุยทักทายผู้ป่วยและญาติทุกครั้งที่เข้าไปให้การพยาบาล ด้วยท่าทีที่เป็นมิตร 2.อธิบายการดำเนินโรคและแผนการรักษาแต่ละวันให้กับผู้ป่วยและญาติได้เข้าใจ
เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีความเข้าใจในโรคที่ผู้ป่วยเป็นและแผนการรักษา
3.เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและญาติสอบถามเกี่ยวกับการรักษาหรือระบายความรู้สึกวิตกกังวลและรับฟังด้วยความตั้งใจ เพื่อลดความกดดันทางอารมณ์ของผู้ป่วยและญาติ
4.แนะนำให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาผู้ป่วย เช่นการช่วยเหลือกิจวัตรประจำวันบางส่วนที่ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ เพื่อเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีในครอบครัว ทำให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกโดดเดี่ยวและมีกำลังใจในการรักษาตัวต่อไป
5.พูดคุยและให้กำลังใจผู้ป่วยและญาติโดยการใช้คำพูดที่สุภาพ
เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกปลอดภัย สบายใจ และมีกำลังใจมากขึ้น
6.แจ้งให้ผู้ป่วยและญาติทราบทุกครั้ง ทั้งก่อนและหลังการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติรับรู้ในการให้การพยาบาล
การประเมินผล
25-27 พฤษภาคม 65
ผู้ป่วยและญาติมีสีหน้าวิตกกังวล
1 more item...