Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที
ทารกแรกเกิด (new born baby or neonatal) หมายถึง ทารกที่มีอายุตั้งแต่พ้นครรภ์มารดา จนถึง 28 วันหลังคลอด
ทารกแรกเกิดปกติซึ่งมีอายุอยู่ในครรภ์มารดาระหว่าง 37 สัปดาห์ ถึง 42 สัปดาห์
เกณฑ์จำแนกทารกแรกเกิด
อายุครรภ์เป็นเกณฑ์
1.1 ทารกคลอดก่อนกำหนด (Preterm infant) : ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์< 37 สัปดาห์
1.2 ทารกคลอดครบกำหนด (Term infant) : ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์ 37-42 สัปดาห์
1.3 ทารกคลอดเกินกำหนด (Post term infant) : ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์ >42สัปดาห์
น้ำหนักของทารกเป็นเกณฑ์
(Low birth weight: LBW): ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด < 2,500 กรัม
2.2 ทารกน้ำหนักปกติ (Full birth weight) : ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด ≥ 2,500 กรัมขึ้นไป
เปรียบเทียบกับอายุครรภ์
3.1 LGA (large for gestational age) : น้ำหนักแรกเกิดมากกว่าค่าเฉลี่ยของอายุครรภ์
3.2 AGA (appropriate for gestational age) : น้ำหนักแรกเกิดเหมาะสมกับค่าเฉลี่ยของอายุครรภ์
3.3 SGA (small for gestational age) : น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าค่าเฉลี่ยของอายุครรภ์
กระบวนการพยาบาลทารกแรกเกิดทันทีในห้องคลอด
1.การประเมินสภาพทารกแรกเกิดทันทีในห้องคลอด
APGAR
1.1 การประเมิน APGAR Score - เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการปรับตัวของทารกแรกเกิด
ลักษณะ 5 ประการ
Skin
1). A (appearance) สีผิว เป็นการประเมินดูสีผิว เยื่อบุตา เยื่อบุปาก ริมฝีปาก และ
สีที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
Score
0
ตัวเขียว คล้ำ ซีด
1
ตัวสีชมพู + ปลายมือ
ปลายเท้าเขียว
2
สีชมพูหรือสีแดงทั้งตัว
Pulse
2). P (pulse or heart rate) ชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจ
Score
0
ไม่มี pulse
1
< 100ครั้งต่อนาที
2
มากกว่า 100ครั้งต่อนาที [120-160 bpm
Reflex/Response
3). G (grimace or reflex) ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
Score
0
ไม่มีการตอบโต้หรือตอบสนอง
1
สีหน้ามีการเปลี่ยนแปลง
(หน้าเบะ)ร้องเสียงเบา ๆ
2
ไอหรือจาม ร้องเสียง
ดังทันที
Muscle
4). A (activity or muscle tone) การเคลื่อนไหวหรือความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
Score
0
ตัวอ่อนปวกเปียกนอนเฉยแขนขาไม่งอไม่มีแรงต้าน
1
ค่อย ๆ งอแขนขาเข้า
และงอได้เล็กน้อย มีแรงต้าน
2
เคลื่อนไหวได้ดี งอ
แขนและขากลับได้เต็มที่
Respiration
5). R (respiration) การหายใจ
Score
0
ไม่หายใจหรือหายใจ1-2 ครั้ง
1
หายใจ ช้าหรือเร็ว ไม่สม่ำเสมอหายใจตื้น
2
หายใจทันที สม่ำเสมอ
ร้องเสียงดัง
ประเมินนาทีที่ 1 จะบ่งชี้ถึงภาวะขาดออกซิเจนของทาราแรกเกิด(Birth asphyxia)และความต้องการการช่วยเหลือเกี่ยวกับระบบหายใจ
นาทีที่ 5 เป็นการประเมินผลของการแก้ไขในระยะแรก และบอกถึงผลเสียทางระบบประสาท ความผิดปกติ ความพิการในอนาคตของทารก
คะแนนตั้งแต่ 0-10 คะแนน
Apgar score 8-10 คะแนน ทารกกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะอยู่ในสภาพปกติ (good condition)
Apgar score 4-7 คะแนน ทารกกลุ่มนี้ถือว่าเสี่ยงต่ออันตราย (fair condition) เพราะศูนย์การหายใจถูกกดเล็กน้อยถึงปานกลาง ทารกไม่หายใจเองใน 1 นาทีหลังจากการช่วยดูดเมื่อก น้ำคร่ำออกจาก ปาก คอ จมูก
แต่ยังมีอัตราการเต้นของหัวใจและปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นแสดงว่า ทารกมีภาวะ
Moderate birth asphyxia ควรได้รับการช่วยเหลือ
Apgar score 0-3 คะแนน ทารกกลุ่มนี้อยู่ในภาวะฉุกเฉินที่ต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างรีบด่วน เพราะศูนย์การหายใจถูกกดรุนแรง ->
Severe birth asphyxia ควรได้รับการช่วยกู้ชีพ (Resuscitation) อย่างรีบด่วน
Resuscitation
Worse sign
อาการแย่ลง เริ่มด้วย สี - หาย - Tone > Re-> Heart
Better sign
อาการดีขึ้น เริ่มด้วย Heart -> Re -> Tone -> หาย -> สี
การดูแลทารกแรกเกิดทันที
WHO กำหนดการดูแลทารกแรกเกิดที่คลอดปกติในระยะแรกเกิดทันที
ดูดเสมหะออกจากปาก จมูก และลำคอทันทีที่ศีรษะทารกคลอด
หนีบและตัดสายสะดือด้วยกรรไกรปราศจากเชื้อ
เช็ดตัวทารกแรกเกิดให้แห้งและห่อตัวให้อบอุ่น
กระตุ้นและส่งเสริมสัมพันธภาพมารดา - ทารก ให้เกิดความรักความผูกพัน
หยอดตาทารกแรกเกิดด้วย 1% AgNO, Silver nitrate solutionหรือ erythromycin เพื่อป้องกันการติดเชื้อ Gonorrhea
ฉีด Vitamin K 0.5-1 mg เข้าทางกล้ามเนื้อเพื่อป้องกันภาวะHemorrhagic disease of the newborn
ประเมินภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิดด้วย Apgar score 1 นาที และ 5 นาที และความต้องการการช่วยกู้ชีพ
ส่งเสริมให้ทารกดูดนมมารดาภายใน 1 ชั่วโมงแรกเกิด
ดูแลให้ทารกอบอุ่น และวัดอุณหภูมิทารกแรกเกิด เพื่อการประเมินและป้องกันภาวะ Metabolic acidosis
เมื่อจะอาบน้ำทารกประมาณ 6 ชั่วโมงหลังเกิด ไม่ควรเช็ดไขตามลำตัวออก
ตัวอย่างแผนการพยาบาลทารกแรกเกิดทันที
1 เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดออกซิเจนได้เนื่องจากทางเดินลมเข้าปอดไม่สะดวก
2 มีโอกาสเกิดภาวะอุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่าปกติเนื่องจากการสูญเสียความร้อนของร่างกาย
3 เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากทารกมีความต้านทานโรคต่ำ
มีแนวโน้มเกิดภาวะเลือดออกได้ง่าย เนื่องจากมีสารที่ช่วยในการแข็งตัวของเลือดต่ำ