Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับโครงงาน - Coggle Diagram
ความรู้ทั่วไป
เกี่ยวกับโครงงาน
โครงงาน
จัดเป็นงานวิจัยในระดับนักเรียน ซึ่งหมายถึง การศึกษา
เรื่องราวต่างๆ ที่สนใจ โดยน าวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการศึกษาและ
แก้ปัญหาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยมีการวางแผนการดำเนินการการศึกษา
ดำเนินการวางแผนแบบประดิษฐ์ ส ารวจทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูล
รวมทั้งการแปลผล สรุปผล และการน าเสนองาน
องค์ประกอบของโครงงาน
โครงสร้างของร่างกายมนุษย์เราก็จะพบว่าประกอบด้วยส่วนต่างๆ
ที่ส าคัญคือ ศีรษะ ไหล่ล าตัว แขน ขา มือและเท้า นอกจากนี้ร่างกายของมนุษย์ยังมี
อวัยวะอื่น ๆอีกมากมายที่ประกอบกันท าให้เป็นร่างกายของมนุษย์สมบูรณ์ เช่น หู ตา
ปาก นิ้วมือ อวัยวะสืบพันธุ์ ฯลฯ
10 ขั้นตอนการท าโครงงานอย่างง่าย
5. ออกแบบวิธีดำเนินการท าโครงงานอย่างละเอียด
เมื่อนักเรียนดำเนินการทำโครงงานจนครบทุกขั้นตอนที่ต้องทำ คือ
การเขียนรายงาน
4. ตั้งสมมติฐาน คือ การคาดคะเนคำตอบล่วงหน้า ก่อนท าการทดลอง โดยการสังเกต
ความรู้ หรือประสบการณ์เดิมเป็นพื้นฐาน
10. เผยแพร่และน าเสนอผลงานที่ได้ศึกษาค้นคว้าส าเร็จแล้ว ให้ผู้อื่นได้รับรู้และเข้าใจ
อาจท าได้ในแบบต่างๆกัน
3.ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน จากหนังสือ ตำรา เอกสาร บทความ
อินเทอร์เน็ต วารสารต่างๆ หรือค้นหาจากงานวิจัยที่ผู้วิจัยไว้แล้ว
2.ระบุจุดมุ่งหมายของโครงงานในรูปของปัญหา การระบุปัญหาคือ การศึกษา
สถานการณ์ ข้อเท็จจริง อาจอยู่ในรูปของข้อความ เพลง ตาราง กราฟ รูปภาพ ตามที่
ก าหนดให้ หรือตามความสนใจ
8. สรุปผลจากข้อมูล เพื่อตอบว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ถูกต้องหรือไม่ ตรงตาม
วัตถุประสงค์หรือไม่ การสรุปผลเป็นการสรุปที่ให้ได้ใจความสั้นๆหรืออาจกล่าวได้ว่า
เป็นการย่อความผลการทดลอง
1.กำหนดแนวทางการท าโครงงานจากการสังเกตจากสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว
7. บันทึกผลการปฏิบัติโครงงาน
6.ดำาเนินการท าโครงงานเพื่อรวบรวมข้อมูล
ส่วนประกอบและวิธีการเขียนโครงงาน
5. กิตติกรรมประกาศ
6. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
4. บทคัดย่อ
7. วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน
3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
8. สมมติฐาน (ถ้ามี)
9. ขอบเขตของการทำโครงงาน
2. ชื่อผู้ทำโครงงาน
1. ชื่อโครงงาน
10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับหรือผลที่คาด ว่าจะได้รับ
11. วิธีดำเนินงาน
12. ผลการศึกษาค้นคว้า
13. สรุปผลและข้อเสนอแนะปัญหาอุปสรรค
14. เอกสารอ้างอิง ชื่อเอกสาร ข้อมูล ที่ได้จาก แหล่งต่าง ๆ
ขั้นตอนการท าโครงงานอย่างง่าย
โครงงานการศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ขั้นตอนที่2 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน จากหนังสือ ต ารา เอกสาร บทความ อินเทอร์เน็ต วารสารต่างๆ หรือค้นหาจากงานวิจัยที่ผู้วิจัยไว้แล้ว รวมไปถึง การขอค าปรึกษา ขอแนะน าหรือข้อมูลต่าง ๆ จากผู้คุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนที่ 1 การคิดเลือกหัวเรื่องและตั้งชื่อโครงงาน ชื่อโครงงานเป็นสิ่งส าคัญประการแรก เป็นขั้นตอนส าคัญและยากที่สุด เพราะชื่อโครงงานจะช่วยเชื่อมโยงความคิดไปถึงวัตถุประสงค์ของการท าโครงงาน และควรก าหนดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลัก
3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
การเขียนชื่อครูทีปรึกษา
3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน
การเขียนชื่อครูทีปรึกษา
4. บทคัดย่อ
เป็นการอธิบายสรุปถึงที่มา และความส าคัญของโครงงานอย่างครอบคลุม
ประเด็นส าคัญ 3 ประเด็น คือ โครงงานนี้มุ่งท าอะไร (วัตถุประสงค์) ด าเนินการท า
อย่างไร (วิธีด าเนินการ) และผลที่ได้เป็นอย่างไร (ผลการศึกษาทดลอง
2. ชื่อผู้ท าโครงงาน
เป็นชื่อผู้รับผิดชอบโครงงาน
5. กิตติกรรมประกาศ
ส่วนใหญ่การท าโครงงานเป็นกิจกรรมที่มักจะได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่า
6. ที่มาและความส าคัญของโครงงาน
ในการเขียนที่มาและความส าคัญของโครงงาน ผู้จัดท าโครงงานต้องศึกษาหลักการ
7. วัตถุประสงค์ของการท าโครงงาน
คือ การก าหนดวัตุประสงค์ปลายทางที่ต้องการจากการท าโครงงาน
8. สมมติฐาน (ถ้ามี)
ส่วนใหญ่ใช้กับโครงงานประเภทการทดลอง
สมมติฐานของการศึกษา เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ผู้จัดทา
โครงงาน ต้องให้ความส าคัญ เพราะจะท าให้เป็นการก าหนดแนวทางในการออกแบบ
การศึกษาให้ชัดเจนและรอบคอบ**
9. ขอบเขตของการท าโครงงาน
ผู้จัดท าโครงงาน ต้องให้ความส าคัญต่อการก าหนดขอบเขตของการท าโครงงาน เพื่อให้
ได้ผลการศึกษาที่น่าเชื่อถือ ซึ่งได้แก่ การก าหนดประชากร กลุ่มตัวอย่าง ตลอดจนตัวแปรที่ศึกษา
9.1) การก าหนดประชากร คือ สมาชิกทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัย
9.2) การก าหนดกลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา คือสมาชิกส่วนหนึ่งของประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
ที่ดีนั้นจะต้องเป็นตัวแทนของประชากร โดยความจ าเป็นของการใช้กลุ่มตัวอย่างคือมีความเป็นไป
ได้ในการเก็บข้อมูล มีความประหยัดและมีประสิทธิภาพ
9.3) ระยะเวลาด าเนินการ เป็นการก าหนดระยะเวลาการปฏิบัติงานทั้งโครงงาน
9.4) เนื้อหา เป็นการเขียนเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ต้องการศึกษา ค้นคว้า ถ้ามีหลายเรื่อง
ให้เขียนเป็นข้อย่อย ๆ
9.5) งบประมาณ การจัดท าโครงงานทุกครั้งต้องมีการ ประมาณค่าใช้จ่ายไว้ล่วงหน้า จัดท า รายละเอียดรายจ่ายที่เกิดขึ้นในการด าเนินโครงงาน เป็นการระบุถึงจ านวนเงิน จ านวนบุคคล จ านวนวัสดุ-อุปกรณ์ และปัจจัยอื่น ๆ ที่จ าเป็นต่อการด าเนินงาน เพราะงบประมาณเป็นตัวช่วยให้ งานส าเร็จลงได้ถ้าขาดงบประมาณแล้วทุกอย่างก็อาจล้มเหลวได้ การจัดท างบประมาณและทรัพยากรในการด าเนินงานโครงงาน ผู้วางแผนโครงงานควร ต้องค านึงถึงหลักส าคัญ 4 ประการในการจัดท าโครงงาน โดยจะต้องจัดเตรียมไว้อย่างเพียงพอและ จะต้องใช้อย่างประหยัด ดังนี้ 1. ความประหยัด (Economy) 2. ความมีประสิทธิภาพ (Efficiency) 3. ความมีประสิทธิผล (Effectiveness) 4. ความยุติธรรม (Equity)
9.6) นิยามศัพท์เฉพาะ เป็นการอธิบายความหมายของตัวแปรที่ศึกษา และบอก
วิธีการทดลองของตัวแปรเหล่านั้น เพื่อเป็นแนวทางการออกแบบการทดลอง
10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับหรือผลที่คาดว่าจะได้รับ
ให้ระบุผลที่จะเกิดขึ้นเมื่อเสร็จสิ้นโครงงาน เป็นผลที่ได้รับโดยตรงและผลพลอยได้หรือ
ผลกระทบจากโครงงานเป็นผลในด้านดีที่ คาดว่าจะได้รับจะต้องสอดคล้องกับ
จุดประสงค์และเป้าหมาย
1. ชื่อโครงงาน
11. วิธีด าเนินการ
คือ วิธีการช่วยให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการท าโครงงานตั้งแต่เริ่มเสนอ
โครงงานกระทั่งสิ้นสุดโครงงาน ประกอบด้วย
11.1) การก าหนดประชากร กลุ่มตัวอย่างที่จะศึกษา คือ การบอกสมาชิกทั้งหมดที่
เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัย
11.2) วิธีการด าเนินการ คือ การบอกวิธีการสร้างโครงงานที่ศึกษา ค้นคว้ามา เป็นล าดับ
ขั้นตอน โดยเริ่มจากการบอก วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ แล้วบอกวิธีการสร้างโครงงานนั้นๆ เช่น นักเรียน
ท าโครงงานเรื่องการศึกษาลายผ้าบาติกแบบโมเดิร์น ก็ให้บอกวิธีการสร้างลายผ้าบาติกแบบ
โมเดิร์นเป็นล าดับขั้นตอน เพื่อให้ผู้ฟังและผู้อ่านเข้าใจวิธีการตรงกันและสามารถท าตามได
11.3) การสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น แบบสังเกต แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์
แบบวัดความพึงพอใจ แบบทดสอบ เป็นต้น
11.4) การเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การน าโครงงานที่ศึกษา ค้นคว้า น ามาให้กลุ่มตัวอย่างได้
ศึกษา ทดลองใช้ หลังจากนั้นก็ให้กลุ่มตัวอย่างท าแบบเครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ผู้จัดท า
สร้าง เช่น แบบสังเกตแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบวัดความพึงพอใจ แบบทดสอบ เป็นต้น
11.5) การวิเคราะห์ข้อมูล คือ การน าผลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูล มาวิเคราะห์ด้วยวิธี
ทางคณิตศาสตร์สถิติเพื่อที่จะน าไปสรุปผลออกมาเป็นข้อความ กราฟ แผนผังฯลฯ ต่อไป
ในการเขียนวิธีด าเนินการให้ระบุกิจกรรมที่จะท าให้ชัดเจน ว่าจะท าอะไรบ้าง เรียงล าดับ
กิจกรรมก่อน-หลัง ให้ชัดเจน เพื่อสามารถน าโครงงานไปปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและถูกต้อง
13. สรุปผลและข้อเสนอแนะปัญหาอุปสรรค
สรุปผลที่ได้จากข้อมูลการศึกษา ถ้ามีการตั้งสมมติฐาน ควรระบุด้วยว่า
ข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านกับสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้
12. ผลการศึกษาค้นคว้า
คือ การน าเสนอข้อมูล หรือผลการศึกษาต่างๆที่สังเกตรวบรวมได้ รวมทั้งเสนอ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ได้ด้วย
14. เอกสารอ้างอิง ชื่อเอกสาร ข้อมูล ที่ได้จากแหล่งต่าง ๆ
ให้บอกชื่อผู้แต่งหนังสือครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ ส านักพิมพ์และปีที่พิมพ์ หรือ
แหล่งข้อมูลที่นักเรียนใช้ค้นคว้า เพื่อน ามาเป็นข้อมูลในการเขียนโครงงาน (ถ้ามีแหล่ง
ค้นคว้ามากกว่า 5 แหล่ง ใช้ค าว่า บรรณานุกรม) ควรเขียนตามหลักการนิยม
ขั้นตอนที่4 การปฏิบัติโครงงาน
เป็นการด าเนินงานตามแผนที่ได้ก าหนดไว้ในเค้าโครงของโครงงาน และต้องมีการจด
บันทึกข้อมูลต่าง ๆ อย่างละเอียด จัดท าอย่างเป็นระบบ เป็นระเบียบ เพื่อที่จะได้ใช้เป็น
ข้อมูลต่อไป
การติดตามและการประเมินผล
เป็นวิธีการหรือเทคนิคในการดูแลและควบคุมการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ ทั้งนี้
ต้องบอกให้ชัดเจนว่าก่อนเริ่มท าโครงงาน ระหว่างท าโครงงานและหลังการท าโครงงาน จะมี
การติดตามและประเมินผลอย่างไร เป็นการระบุว่ามีการติดตาม การควบคุม การ
ก ากับ และการประเมินผลโครงงานอย่างไร จะประเมินความส าเร็จของการด าเนินงาน
โครงงานได้อย่างไรใครเป็นผู้รับผิดชอบ
ขั้นตอนที่6 การแสดงผลโครงงาน การแสดงผลโครงงาน เป็นการน าเสนอผลงานที่ได้ศึกษาค้นคว้าให้ผู้อื่น ได้รับรู้ และเข้าใจอาจจะทาในรูปแบบต่างๆ เช่น การจัดนิทรรศการ การรายงานปากเปล่า การรายงานประกอบสไลด์คอมพิวเตอร์ เป็นต้น การแสดงผลงานโครงงานท าได้หลาย ระดับ เช่น 1. การจัดแสดงผลงานภายในชั้นเรียน 2. การจัดนิทรรศการภายในโรงเรียนเป็นการภายใน 3. การจัดนิทรรศการในงานประจ าปีของโรงเรียน 4. การส่งผลงานเข้าร่วมในการแสดงหรือประกวดภายนอกโรงเรียน
5. การจัดนิทรรศการ
การแสดงผลงานเป็นงานขั้นสุดท้ายและการนาเสนอโครงงานเป็นขั้นตอนที่ส าคัญ
อีกประการหนึ่งของการท าโครงงาน
6.บรรยาย
ขั้นตอนที่5 การเขียนรายงาน
ควรใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ ชัดเจน และครอบคลุมประเด็นส าคัญของ
โครงงาน โดยสามารถเขียนให้อยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การสรุป รายงานผล ซึ่ง
ประกอบไปด้วยหัวข้อต่าง ๆ เช่น บทคัดบ่อ บทน า เอกสารที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น
ข้อควรค านึงเกี่ยวกับการคัดเลือกเรื่องที่จะท าโครงงาน
เหมาะสมกับระดับความรู้
เหมาะสมกับระดับความสามารถ
วัสดุอุปกรณ์ที่จ าเป็นต้องใช้
งบประมาณเพียงพอ
ระยะเวลาที่ใช้ท าโครงงาน
มีครูหรือผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่ปรึกษา
มีความปลอดภัย
มีแหล่งเรียนรู้หรือมีเอกสารเพียงพอที่จะค้นคว้า