Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้ และการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และพลังงาน,…
การบริหารจัดการแหล่งการเรียนรู้
และการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม และพลังงาน
แหล่งเรียนรู้ หมายถึง
ถิ่น ที่อยู่ บริเวณ บ่อเกิด แห่ง ที่หรือศูนย์ความรู้ที่ให้เข้าไปศึกษาหาความรู้ ความเข้าใจ และความชำนาญ ซึ่งแหล่งเรียนรู้จึงอาจเป็น ไปได้ทั้งสิ่งที่เป็นธรรมชาติ หรือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เป็นได้ทั้งบุคคล สิ่งมีชีวิต และไม่มีชีวิต และแหล่งเรียนรู้อาจจะอยู่ในห้องเรียนในโรงเรียนหรือนอกโรงเรียน
ความสำคัญของแหล่งการเรียนรู้
4.เห็นความสำคัญของการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น
มีส่วนร่วมในองค์กร
ผู้เรียน สามารถเชื่อมโขงความรู้ท้องถิ่นสู่ความรู้สากลสิ่งที่อยู่ใกล้ตัว
ได้เรียนรู้จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
2.ผู้เรียนได้เรียนในสิ่งที่มีคุณค่า
1.ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสภาพชีวิตจริง
การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้
การวางแผน
ดำเนินงานตามแผนที่วางไว้
ศึกษาสภาพปัจจุบันและวิเคราะห์นโยบายของสถานศึกษา
จัดระบบและกำหนดยุทธศาสตร์การให้บริการทั้งในเชิงรุก
นิเทศ ติดตาม ประเมินผล
ลักษณะของแหล่งเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นบุคคล
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นแหล่งวิชาการ
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นแห่ล่งธรรมชาติ
แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นสื่อ
ข้อดีในการนำแหล่งเรียนรู้ มาใช้ในกระบวนการเรียนการสอน
ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อชุมชน และกระบวนการเรียนรู้
ผู้เรียนเห็นคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผู้เรียนเกิดความสนุกสนาน
ผู้เรียนเกิดความรักท้องถิ่นและเกิดความรู้ในการอนุรักษ์สิ่งที่มีคุณค่าในท้องถิ่น
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากของจริง ทำให้เกิดประสบการณ์ตรง
ความหมายของสิ่งแวดล้อม
หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเราทั้งสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตเกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างขึ้น ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม
ความสำคัญของสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
มีอิทธิพลต่อลักษณะที่อยู่อาศัย เช่น บ้านเรือนในแต่ละภูมิภาคจะมีการใช้วัสดุที่เหมาะสมกับภูมิอากาศ
สิ่งแวดล้อมเป็นกำหนดลักษณะการดำรงชีวิตของมนุษย์
มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐาน
สิ่งแวดล้อมมีความสำคัญต่อความเจริญรุ่งเรื่องและความผาสุกของมนุษยชาติ
เป็นองค์ประกอบของชีวิตและเป็นอาหาร
ทางด้านวิชาการสิ่งแวดล้อมยังบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนั้นมีความสำคัญมากต่อการพัฒนาและความเจริญของประเทศ
ประเภทของสิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติภูเขา ป่าไม้ ดิน น้ำ อากาศ แร่ธาตุ เป็นต้้น แบ่งได้ 2 ชนิด
สิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต ได้แก่ พืช สัตว์ มนุษย์
สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต เช่นอากาศดิน พลังงาน แร่ธาตุ
ป่าไม้ ธารน้ำ
สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ บางอย่างสามารถมองเห็นได้ เช่นตึก บ้าน ถนน บางอย่างไม่สามารถมองเห็นเช่น กฎหมาย วัฒนธรรม แบ่งเป็น ๒ ชนิด
1.สิ่งแวดล้อมทางกายภาม เช่นบ้าน ถนน เสื้อผ้า
2.สิ่งแวดล้อมทางสังคม เช่น วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อการเมือง กฎเกณฑ์ต่างๆ เป็นต้น
การบริหารสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
1.สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ สภาพแวดล้อมที่เป็นวัตถุเช่น บริเวณโรงเรียน อาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องเรียน ห้องประกอบครุภัณฑ์
2.สภาพแวดล้อมทางวิชาการ ได้แก่การจัดบรรยากาศการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนตลอดจนการจัดบริการเพื่อส่งเสริม สนับสนุนทางวิชาการต่าง ๆ
3.สภาพแวดล้อมทางการบริหารการจัดการ ได้แก่การดำเนินการใด ๆภายในโรงเรียนให้การปฏิบัติงานสำเร็จลงด้วยความร่วมมือร่วมใจของบุคคากรซึ่งสังเกตได้จากการดำเนินงานอย่างมีระบบ
พลังงาน เป็น กระบวนการ ให้การศึกษากับประชาชนเพื่อให้เกิดความตระหนักในความสำคัญและปัญหาของสิ่งแวดล้อมให้มีเจตคติที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาและป้องกันมิให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้นทั้งในปัจจุบันและอนาคต เพราะทั้ง 4 ระบบนี้ มีความสัมพันธ์กัน ดังนั้น จึงต้องทำให้ทั้ง 4 ระบบนี้มีความยั่งยืน จึงจะนำไปสู่ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของสิ่งแวดล้อมศึกษา
ด้านความตระหนัก (Awareness)
ด้านเจตคติ (Attitude)
ด้านความรู้ความเข้าใจ(Knowledge)
ด้านทักษะ (Skill)
การมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติ (Participation)
นางสาวพิไลพร จุ้ยกระยาง 64121278038 แผน ก ห้อง 2