Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถาบันการศึกษากับชุมชน education, นางสาวสุภาภรณ์ สว่างภักดิ์ 64U54620122…
สถาบันการศึกษากับชุมชน
หลักการ แนวคิด ทฤษฎี การบริหารความสัมพันธ์ ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน
แนวคิด
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ
ติดต่อประสานความร่วมมือกับชุมชน สร้างความเข้าใจระหว่างชุมชน ผู้บริหาร คณะครู อาจารย์
ส่งเสริมและเปิดโอกาสให้ชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมกิจกรรม
จัดขึ้นเพื่อให้เกิดประโยชน์ ในการพัฒนาการศึกษาทั้งสถาบันการศึกษาและชุมชน
สร้างความรู้สึกว่าสถาบันการศึกษา เป็นของชุมชนอย่างแท้จริง
สตูฟส์แรฟเฟอร์ตี้ และจอห์นสัน
ต้องมีทั้งการให้และการรับสารต่อชุมชน
สร้างความสัมพันธ์จะได้ผล ต้องใช้วิธีเขียนหลายวิธีในเวลาเดียวกัน
สร้างความสัมพันธ์ด้วยความจริงใจและเข้าใจต่อกัน
ควรสร้างความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
สถาบันการศึกษาควรให้ข้อมูลที่น่าสนใจง่ายต่อการเข้าใจ
ฟิวส์โก้ (Fusco)
สร้างความคุ้นเคยกับชุมชนที่อยู่แวดล้อมสถาบันการศึกษา
ศึกษาทำความเข้าใจชุมชน
. แสดงความสามารถด้านการวางแผนพัฒนาให้ชุมชนร่วมประเมินใช้ หลักสูตร ใช้อุปกรณ์และทรัพยากรบุคคลในชุมชน สัมภาษณ์สำรวจชุมชน ศึกษาภาคสนาม ทำโครงการให้บริการชุมชนและออกค่ายพักแรมของสถาบันการศึกษา
เพิ่มความสามารถในการทำงาน ร่วมกับบุคคลหรือองค์กรในชุมชนโดยหลักการประชาธิปไตยอย่างสัมฤทธิ์ผล
ให้ชุมชนได้ประจักษ์ ในด้านความสามารถในวิชาชีพและให้ประจักษ์ว่าการศึกษาเป็นกระบวนการที่สร้างความเจริญก้าวหน้า สร้างประสบการณ์ความสามารถ ความมีคุณภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์
ทฤษฎี
ทฤษฎีทางด้านจิตวิทยาและสังคมวิทยาจุลภาค
ทฤษฎีการกระทำด้วยเหตุผล
(A Theory of reasoned action)
มนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลและใช้ข้อมูลที่ตนมีอยู่อย่างเป็นระบบ
รูปแบบการทำนายพฤติกรรมของลิสก้า (Liska's Revision model)
พฤติกรรมของคนไม่ได้เกิดจากความตั้งใจเสมอไปแต่ยังขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของสภาพแวดล้อมที่เรียกว่า ทรัพยากร (Resources) และเงื่อนไขทางสังคมที่เปิด โอกาสให้บุคคลได้แสดงออก
ทฤษฎีการเปรียบเทียบทางสังคมตามความคิดของเฟสติงเจอร์ (Social comparison theory)
พฤติกรรมของบุคคลเกิดจากความต้องการที่จะเปรียบเทียบความสามารถและความคิดเห็นของตนเองกับบุคคลอื่น โดยใช้เกณฑ์ทางกายภาพและเกณฑ์ทางสังคม
ทฤษฎีปริวรรษนิยมของโฮแมนส์ (Exchange theory)
เหมาะสมที่จะนำมาวิเคราะห์ และอธิบายพฤติกรรม และปรากฏการณ์ทางสังคมในระดับบุคคล โดยใช้ฐานคิดจาก เศรษฐศาสตร์เชิงอรรถประโยชน์นิยม
ทฤษฎีการกระจายอำนาจ (Decentralization Theory)
ความรับผิดชอบที่จะตรวจสอบได้ (Accountability)
การเพิ่มผลผลิต (Productivity)
ความยืดหยุ่น (Flexibility)
หลักการ
Stoop and Rafferty
การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน ควรใช้วิธีหลาย ๆ ด้าน
การสร้างความสัมพันธ์ควรจะต้องกระทำต่อเนื่องติดต่อกัน ตลอดไป
ต้องเป็นทั้งกระบวนการรับข่าว และให้ข่าวแก่ชุมชน
สถาบันการศึกษาควรให้ข้อมูลหรือข่าวสารที่น่าสนใจ ง่ายต่อการเข้าใจและควรต้องสอดคล้อง กับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน
ไพเราะ กาญจนสิงห์
ยึดหลักมนุษยสัมพันธ์
. ยึดหลักความจริงใจหรือบริสุทธิ์ใจ
ซื่อสัตย์
คงเส้นคงวา
ยึดความเสียสละ
ยึดความอดทน
ยึดความยืดหยุ่น
ยึดความต่อเนื่อง
ยึดการครอบคลุมเนื้อหา
ยึดความเรียบง่าย
ยึดการสร้างสรรค์
. ยึดความเป็นผู้ให้ชุมชนมากกว่าผู้รับจากชุมชน
ความสามารถในการปรับตัว
วาสนา ชูแสง
ควรมีการศึกษาพื้นฐานของชุมชนนั้นให้เข้าใจ เพื่อปรับวิธีการดำเนินงานให้เหมาะสม
มีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงเข้าใจง่ายและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
โรงเรียนควรยอมรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากคนในชุมชน
มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องทั้งในและนอกโรงเรียน
กาญจนา สิงห์มณี
บุคลากรในสถาบันการศึกษาต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับชุมชนที่สถาบันการศึกษา
การดำเนินการต้องทำด้วยความบริสุทธิ์ใจตรงไปตรงมา
สร้างสรรค์
ต่อเนื่อง
ยืดหยุ่นได้อย่างเหมาะสม
ประสงค์ ถึงแสง
หลัก 3S’s ในการสร้างความร่วมมือและการสนับสนุนจากชุมชน
S - Synergy
คือการรวมพลังประสานความร่วมมือกับชุมชนให้ทำงานร่วมกับสถานศึกษา
S-School Based Activities
การสร้างสถานศึกษาให้เป็นแหล่งความรู้ ศูนย์กลางพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชุมชน
S - Shared Vision
คือการสร้างให้ชุมชนมีวิสัยทัศน์ร่วมกันกับสถานศึกษา
หลักการสร้าง Trust เพื่อพัฒนาสู่ความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน
Reach
การเข้าถึงชุมชน ใกล้ชิด สม่ำเสมอ เป็นกันเอง
Engage
การสร้างความผูกพันที่แน่นแฟ้น เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน
Understanding
ศึกษาทำความเข้าใจลักษณะของชุมชน และกลุ่มคนที่เกี่ยวข้อง
Appreciate
การชื่นชม ยกย่อง เคารพในศักดิ์ศรี
ความหมาย
รุ่งทิพย์ เข็มทิศ
การดำเนินการติดต่อสื่อสาร การได้รับความช่วยเหลือจากชุมชน การสนับสนุนการใช้แหล่งทรัพยากรของชุมชน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเงิน วัสดุอุปกรณ์ อันเกี่ยวข้องกับสถาบันการศึกษาและชุมชน เพราะทั้งการบริหาร หรือการดำเนินการ
สมนึก พงษ์สกุล
วิธีการหรือกระบวนการดำเนินการใด ๆ ที่เกิดจากความร่วมมือจากชุมชนสู่สถาบันการศึกษา และสถาบันการศึกษาสู่ชุมชน ร่วมกันวางแผนควบคุม ประสานงาน จัดบุคลากร และเผยแพร่ความรู้เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ความรู้สึก และความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ร่วมมือในการพัฒนาการศึกษาของสถาบันการศึกษาและพัฒนาชุมชน ไปพร้อมกัน
วาสนา ชูแสง
กระบวนการดำเนินงานของสถาบันการศึกษา เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน และเปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาบันการศึกษาร่วมกำหนดความมุ่งหมาย และนโยบาย รวมถึงให้ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ
(Harris) แฮร์ริส
การบริหารสร้างความสัมพันธ์กับชุมชนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน แจ้งข่าวคราว การเคลื่อนไหวทาง การศึกษาให้ชุมชนทราบ แล้วให้ความช่วยเหลือชุมชน ตลอดจนการเสริมสร้างความเข้าใจอันดี ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน
สรุป
หมายถึง แนวทางในการดำเนินงานหรือกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียน กับชุมชน และเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาโรงเรียนส่งเสริมสนับสนุนคุณภาพของการศึกษา รวมถึงให้ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ
ตัวอย่างสถานศึกษา
ในประเทศ
โรงเรียนบ้านเกาะเสือ ต.เกาะหมาก จ.พัทลุง
ให้นักเรียนพึ่งพาตัวเอง ใช้กระบวนการ Active Learning ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ (Learning by Doing)
มีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน ได้รับความช่วยเหลือในการพัฒนาโรงเรียนจากชุมชน
ขนาดเล็ก จำนวนนักเรียนน้อยกว่า 70 คน ครู 6 คน
จัดตั้งที่พักในโรงเรียน ชื่อว่า " เกาะเสือ สคูล เสตย์ "
ต่างประเทศ
Santa Monica College, Los Angeles, USA
วิทยาลัยชุมชน ตั้งอยู่ในแหล่งท่องเที่ยว ใกล้ชายหาด Santa Monica Beach
เปิดสอนหลักสูตรต่าง ๆ โดยไม่คิดค่าเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับคนในชุมชน ให้มีความรู้ มีอาชีพ หรือมีกิจกรรมสร้างสรรค์
มีวิทยาเขต 5 แห่ง มีนักศึกษากว่า 30,000 คน
โดยเปิดสอนมากกว่า 60 หลักสูตร ในหลากหลายสาขาวิชา
Noncredit courses เปิดสอนฟรีสำหรับผู้ที่สนใจอายุ 18 ปีขึ้นไป
กระบวนการและกลยุทธ์การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันการศึกษากับชุมชน
กระบวนการพัฒนาและแนวทางการสร้างความสัมพันธ์
PDCA
ขั้นวางแผน (Plan)
ขั้นดำเนินการ(Do)
ขั้นปรับปรุงแก้ไข(Act)
ขั้นตรวจสอบ(Check)
แนวทางการสร้างความัมพันธ์
ทางตรง
โรงเรียนออกสู่ชุมชน
ชุมชนเข้าสู่โรงเรียน
ทางอ้อม
ปรับปรุงพัฒนาบุคลากร
ปรับปรุงอาคารสถานที่
กลยุทธ์และเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาความสัมพันธ์
การวิเคราะห์ศักยภาพของโรงเรียน
Strength จุดแข็ง
Opportunity โอกาส
Weakness จุดอ่อน
Threats อุปสรรค ความเสี่ยง
การวิเคราะห์ต้นทุนชุมชน
หาจุดร่วมระหว่างการวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของสถานศึกษากับต้นทุนชุมชน
จุดอ่อน หรือ มีความเสี่ยง
ต้นทุนชุมชนพร้อมมาก
ต้นทุนชุมพร้อมมากที่สุด
จุดแข็ง หรือ มีโอกาส
ต้นทุนชุมชนพร้อมน้อย
ต้นทุนชุมชนพร้อมน้อยที่สุด
ต้นทุนชุมชน
สิ่งก่อสร้าง
สิ่งแวดล้อม
สังคม
มนุษย์
วัฒนธรรม
การเมือง
การเงิน
การวิเคราะห์บุคคลที่มีผลต่อความสำเร็จของกิจกรรมในชุมชน
ผู้มีปัจจัยอำนาจในชุมชน
โดยหน้าที่
โดยสถาบันหรือสมาคม
โดยเป็นที่ยอมรับ
โดยเป็นที่นิยมชมชอบ
โดยความเชี่ยวชาญ
โดยมั่นคง
ตามธรรมเนียมและค่านิยมชุมชน
การจัดตั้งคณะทำงานและกำหนดบทบาทสมาชิกโดยใช้ตารางหน้าที่ราซี่
R-Responsible ผู้รับผิดชอบหลัก
A-Approve ผู้อนุมัติ
S-Support ผู้ให้การสนับสนุน
I-Inform ผู้ที่ต้องได้รับความคืบหน้าเพื่อดำเนินงานที่ต่อเนื่อง
การปฏิบัติงานตามขอบข่ายการบริหารความสัมพันธ์
งานเสริมสร้างความสัมพันธ์ชุมชนกับหน่วยงานอื่นๆ
กำหนดผู้ประสานงาน
ประเมินการดำเนินงาน
มีการวางแผน
ตัวอย่างกิจกรรม
การเยี่ยมบ้านนักเรียน
การแข่งขันกีฬา
การจัดงานปีใหม่
งานเกี่ยวกับคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สรรหาคณะกรรมการโรงเรียน
ประสานงานกับบุคคลสำคัญในชุมชน
จัดอรมส่งเสริมความรู้ตามบทบาท
ประชุมคณะกรรมการสนับสนุนวัสดุครุภัณฑ์และอาคารสถานที่
งานรับความช่วยเหลือสนับสนุนจากชุมชน
รับฟังความคิดเห็นจากชุมชน
การประชาสัมพันธ์
ชุมชนมีส่วนร่วม
แนวคิด
อุปกรณ์
แรงงาน
ทุนทรัพย์
การจัดตั้งกลุ่ม ชมรม สมาคมหรือมูลนิธิฯ
เปิดโอกาสให้ชุมชนจัดตั้งกลุ่ม ชมรม สมาคม
ภายใต้ระเบียบกฎหมาย
ประชุมหาแนวทาง
แต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบ
บุคลากรในโรงเรียนควรเข้าร่วมเป็นสมาชิก
งานให้บริการชุมชน
วิชาการความรู้
ส่งเสริมคุณธรรม
ด้านอาคารสถานที่
สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์
อยู่บนพื้นฐานความสามารถและขีดจำกัดของโรงเรียน
เทคนิคการให้บริการ
ตรงตามความต้องการของผู้ขอใช้บริการ
เหมาะสม
ถูกต้อง
งานประชาสัมพันธ์
เผยแพร่ข่าวสารของโรงเรียน
ทำป้ายประกาศรับฟังความคิดเห็น
ประกาศเสียงตามสายทางหอกระจายข่าว
ข้อพิจารณาในการประยุกต์ใช้กลยุทธ์
เน้นการกระตุ้น สร้างแรงจูงใจ และเสียสละต่อประโยชน์ส่วนรวม
รูปแบบการดำเนินกิจกรรม ควรเป็นไปอย่างไม่เป็นทางการ
จำเป็นต้องมีแผนงาน และการจัดการอย่างมีระบบ
ควรกำหนดระยะเวลาของโครงการหรือกิจกรรมให้แน่นอน
มีการสื่อสารสม่ำเสมอ ในรูปแบบที่เหมาะสม
การติดตามผล แลกเปลี่ยน รายงานผลและให้ข้อมูลย้อนกลับ
มีการประชุมจัดกิจกรรมและสื่อสาร เพื่อการรับข้อเสนอแนะปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ตัวอย่างสถานศึกษา
ในประเทศ
โรงเรียนวัดใหญ่บ้านบ่อ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร
พระครูสาครวิริยาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดใหญ่บ้านบ่อ เจ้าคณะตำบลบ้านบ่อเป็นผู้อุปการะโรงเรียน
เปิดสอนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีนักเรียนทั้งสิ้น 761 คน
พันธกิจของโรงเรียน 7 ข้อ
พัฒนาหลักสูตร จัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ได้ตามเกณฑ์
จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตั้งแต่ระดับปฐมวัยจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
พัฒนานักเรียนให้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรสถานศึกษา
พัฒนาระบบการบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน
จัดหาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ
ส่งเสริมชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
หลักการของคินเดรด (Kindred)
การครอบคลุมเนื้อหา (Converage)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
ความบริสุทธิ์ใจ (Integrity)
ความเรียบง่าย (Simplicity)
ความสามารถในการปรับตัว (Adaptability)
ความยืดหยุ่น (Flexibility)
การสร้างสรรค์ (Constructiveness)
ต่างประเทศ
St Peter s Primary School (โรงเรียนเซนต์ปีเตอร์)
ตั้งอยู่เมืองลีดส์ ของประเทศอังกฤษ
Liz Holliday ผู้อำนวยการ
โรงเรียนประถมทีหลากหลายด้านภาษาเพราะเด็กมาจากพื้นที่ต่างๆ
ปรัชญา “ห่วงใยทุกคนในโรงเรียน”
จัดการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง
การทัศนศึกษา
การถักเนตติ้ง
การสอนทำอาหาร
กระบวนการและกลยุทธ์การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน
การเชิญผู้ปกครอง ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประสบความสำเร็จ และภูมิปัญญาในท้องถิ่นเข้ามาเป็นวิทยากรให้กับทางโรงเรียน
หลัก 3Ss ในการสร้างความร่วมมือและการสนับสนุนจากชุมชน
การสร้าง Trust เพื่อพัฒนาสู่ความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน
การบริหารจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อการจัดการเรียนรู้ของสถานบันการศึกษา
ความหมายของการบริหาร
การบริหารคือศิลปะในการทำงานให้บรรลุเป้าหมายร่วมกับผู้อื่น
กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมมือกันดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง
การใช้กระบวนการเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกันของกลุ่มบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป โดยใช้ศาสตร์และศิลป์ในการดำเนินการให้กิจกรรมต่างๆบรรลุตามวัตถุประสงค์
ความเป็นมาของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่นคือพื้นฐานของความรู้ ของชาวบ้านที่เรียนรู้ และมีประสบการณ์ สืบต่อกันมาทั้งทางตรงและทางอ้อม
สำนักคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กล่าวว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นเกิดจากประสบการณ์ของชีวิต สังคมและสภาพสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน
สรุป ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์โลก การดำเนินชีวิตประจำวัน ที่เอาสิ่งรอบตัว รวมถึงความรู้ และประสบการณ์ที่ผ่านมาจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
ความสำคัญ
กฤษณภัต บุญยัษเรียร
เป็นองค์ความรู้ที่มีคุณค่า และความดีงามที่ดำรงอยู่กับธรรมชาติ และสภาพแวดล้อมอย่างกลมกลืนและสมดุล
เป็นรากฐานการพัฒนา เริ่มจากกการพึ่งพาตนเอง พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน พัฒนาผสานความรู้สากลบนฐานภูมิปัญญษดั้งเดิมเพื่อเกิดเป็นภูมิปัญญาที่ร่วมสมัย
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทำให้ชุมชนและชาติผ่านพ้นวิกฤตและดำรงความเป็นชาติหรือชุมชนไว้
สมจิตร พรหมเทพ
มรดกทางวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน จนกลายเป็นวิถีชีวิตของตนเองและชุมชน
เป็นมรดกทางสังคมที่ได้จากการเรียนรู้และขัดเกลาจากการปฏิบัติที่ดี และมีความเชื่อสืบต่อกันมา
เป็นทรัพย์สินทางปัญญาที่มีคุณค่า ไม่น้อยไปกว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์
เป็นข้อมูลพื้นฐานในการดำรงชีวิต และพัฒนาจากอดีตถึงปัจุบัน
เป็นแนวทางสู่การปรับตัวของชุมชน ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจแบบพึ่งตนเอง
ช่วยเพิ่มความสมดุลระหว่างธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมกับประชาชน
นันทสาร สีสลับ
สร้างความภูมิใจและศักดิ์ศรีของคนไทย
ปรับประยุกต์หลักธรรมมางศาสนากับวิถีชีวิต
ช่วยสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่น
สร้างความสมดุลระหว่างคนในสังคมและธรรมชาติ
เปลี่ยนแปลงปรับปรุงตามยุคสมัย
ความหมายของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
องค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ ที่สั่งสมสืบทอดกันมา การปรับตัว การแก้ปัญหา เพื่อดำรงอยู่รอดของเผ่าพันธุ์ จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาชาวบ้าน
เกิดจากการสะสมการเรียนรู้เป็นระยะเวลานาน เชื่อมโยงกันในทุกสาขาวิชา เกี่ยวกับเศรษฐกิจ อาชีพ ความเป็นอยู่ การศึกษาวัฒนธรรมจะผสมผสานเชื่อมโยงกัน
ภูมิปัญญา
ความรู้ ความสามารถ ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม และความสามารถในการแก้ปัญหาของมนุษย์
ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถิ่น
นามธรรม
เป้็นโลกทัศน์ ปรัชญาในการดำเนินชีวิต
เกี่ยวกับการ เกิด แก่ เจ็บ ตาย
รูปธรรม
ความจำเพาะเกี่ยวกับท้องถิ่น
มีความเชื่อมโยงหรือการบูรณาการสูง
มีความเคารพผู้ใหญ่
ประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่น
เรื่องเกี่ยวกับ คติ ความคิด ความเชื่อ ภาษาและพื้นฐานแห่งองค์ความรู้
เรื่องของศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี
เรื่องของการประกอบอาชีพในแต่ละท้องถิ่น
เรื่องของแนวคิดที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต
แนวคิด ทฤษฎี
พลพักษ์ คนหาญ
มีส่วนร่วมการกำหนดเป้าหมาย จุดเน้น
มีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากร
การมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์สถานการณ์
มีส่วนร่วมในการปฏิบัตงาน
มีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล
สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน 4 M's
บุคลากร Man
งบประมาณ Money
ทรัพยากร Material
การบริหารจัดการ Management
เบ็ญจรัตน์ เมธะปัญญา
การวางแผน Plan
การปฏิบัติ DO
การตรวจสอบ Check
การสะท้อนผลเพื่อปรับปรุงแก้ไข Act
วิจัย
ในประเทศ
วัลยา ทองงาม
การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมพัฒนาการนักเรียนโรงเรียนอนุบาลวีรยา อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
การใช้ทฤษฎีบริหารจัดการด้วยวงจรคุณภาพ
Plan ทำแผนประสบการณ์มีการศึกษาหลักสูตรแม่บท กำหนดจุดประสงค์ที่ชัดเจน
Do ปฏิบัติตามแผนประสบการณ์อย่างเป็นระบบ
Check ตรวจสอบผลการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน และประเมินผลการดำเนินงาน
Act สะท้อนผลการประเมินเพื่อปรับปรุงและพัฒนาให้ตอยสนองความต้องการของผู้เรียน
ต่างประเทศ
โลแลนด์ บาร์ดี และ อาร์เธอ ลูเบนส์
การบริหารแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
การวางเป้าหมายเป็นระยะต่างๆให้ชัดเจน
การประสานการจัดโครงสร้างภายในและภายนอก
การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การสร้างทุนทางปัญญา
นางสาวสุภาภรณ์ สว่างภักดิ์ 64U54620122