Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดา-ทารก - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดา-ทารก
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาระยะตั้งครรภ
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบสืบพันธุ์
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระบบย่อยอาหาร
ระบบเผาผลาญอาหารในร่างกาย
ระบบเผาผลาญอาหารในร่างกาย
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ระบบผิวหนัง
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
อาการที่สงสัยว่าจะตั้งครรภ์ (Presumptive signs)
อาการที่แสดงว่าน่าจะตั้งครรภ์ (Probable signs)
อาการแสดงตั้งครรภ์แน่นอน (positive signs)
การเปลี่ยนแปลงด้านเพศสัมพันธ์
ระยะไตรมาสแรก หญิงตั้งครรภ์อาจมีความรู้สึกทางเพศลดลง เนื่องจากความไม่สุขสบายทางด้านร่างกาย
ระยะไตรมาสที่สอง หญิงตั้งครรภ์จะมีความรู้สึกทางเพศเพิ่มขึ้นและร่างกายมีการตอบสนองทางเพศดีขึ้น
ระยะไตรมาสที่สาม ในระยะนี้รูปร่างของหญิงตั้งครรภ์จะเปลี่ยนแปลงมากขึ้น ขนาดของมดลูกขยายใหญ่ขึ้น
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์
ระยะไตรมาสแรก การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายยังปรากฏไม่ชัดเจนจึงทําให้มีการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์น้อย
ระยะไตรมาสที่สอง ระยะนี้มีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายมากขึ้น
ระยะไตรมาสที่สาม รู้สึกว่าร่างกายเปลี่ยนแปลงมากขึ้นเกิดความไม่คล่องตัว
การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์
ระยะไตรมาสแรก จะมีความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย (ambivalence)
ระยะไตรมาสที่สอง เริ่มยอมรับการตั้งครรภ์มากขึ้น จากการดิ้นของทารกในครรภ
ระยะไตรมาสที่สาม หญิงตั้งครรภ์จะเริ่มกลัวและวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอดมากขึ้น
การให้คําแนะนําแก่สตรีในระยะตั้งครรภ
การให้คําแนะนําในไตรมาสที่ 1
ด้านโภชนาการในระยะตั้งครรภ์
ด้านการออกกําลังกาย
ด้านการมีเพศสัมพันธ์
การให้คําแนะนําในไตรมาสที่ 2
วิธีการนับลูกดิ้น
การดูแลผิวหนัง
การดูแลเต้านม
การให้คําแนะนําในไตรมาสที่ 3
พัฒนาการของทารกในครรภ์
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายของคุณแม่
การดูแลสุขภาพครรภ์
การดูแลด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 1
ความไม่แน่ใจ (uncertainty) และความรู้สึกก่ํากึ่ง (ambivalence)
ความรู้สึกเสียใจ (grief)สตรีมีครรภ์จะรู้สึกเสียใจอาลัยต่อบทบาทเดิมเพื่อการ มีบทบาทใหม่ของการเป็น มารดา
อารมณ์แปรปรวน (mood swing) ส่วนหนึ่งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงฮอร์โมนในระยะตั้งครรภ์และ เกิดขึ้นได้ตลอดการตั้งครรภ์
ความสนใจและความต้องการทางเพศ (changes in sexual desire) สตรีบางรายอาจมีความสนใจและ ความต้องการทางเพศลดลงเนื่องจากความไม่สุข สบาย
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 2
การยอมรับการตั้งครรภ์ (acceptance of pregnancy) สตรีมีครรภ์จะยอมรับการตั้งครรภ์เนื่องจากมี ความชัดเจนของอาการและอาการแสดงของการตั้งครรภ์มากขึ้น
รักและใส่ใจตนเอง (narcissism and introversion) สตรีมีครรภ์จะใส่ใจกับการเรียนรู้บทบาทมารดา และการท ากิจกรรมที่เป็นประโยชน์
การรับรู้ภาพลักษณ์ (body image and boundary) สตรีมีครรภ์บางรายพึงพอใจ ภูมิใจต่อภาพลักษณ์ ของตนเพราะคิดว่าการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเป็นสิ่งบ่งบอกว่าทารกเจริญเติบโต
ความสนใจและความต้องการทางเพศ (change in sexual desire) สตรีมีครรภ์ส่วนใหญ่ไม่รู้สึกถึง ความเปลี่ยนแปลง
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 3
ความเครียด (stress)สตรีมีครรภ์กว่าร้อยละ 80 มีความเครียดตั้งแต่ระดับ ปานกลางจนถึงระดับสูง และวิตกกังวลเมื่อใกล้เข้าสู่ระยะคลอด
ความสนใจและความต้องการทางเพศ (change in sexual desire) สตรีมี ครรภ์บางรายไม่รู้สึกถึงการ เปลี่ยนแปลงความต้องการทางเพศ
การเตรียมตัวเพื่อการคลอด
การหายใจ (breathing technique)
การลูบหน้าท้อง (effleurage technique)
การปรับตัวเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดา
สถานภาพสมรส
การยอมรับสภาพความเป็นจริง
การปรับตัวต่อบทบาทการเป็นบิดา
การประเมินภาวะสุขภาพทารก
การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ก่อนคลอด
การตรวจนับจํานวนเด็กดิ้น (Fetal movement count : FMC)
การตรวจนอน สเตรส เทสท์ (Non stress test: NST)
การตรวจ คอนแทรกชั่น สเตรส เทสท์ (Contraction stress test : CST)
ฟีตัล ไบโอ ฟิซิคัล โปรไฟล์ (Fetal Biophysical profile : BPP)
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกในครรภ
การมีปฏิสัมพันธ์กับทารกในครรภ์
การแสดงบทบาทมารดา
การแสดงความสนใจต่อคุณลักษณะรูปร่าง หน้าตาของทารกในครรภ
การอุทิศตนเพื่อทารกในครรภ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสร้างความผูกพันระหว่างหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ
ปัจจัยด้านหญิงตั้งครรภ์
วุฒิภาวะทางอารมณ์
เจตคติและความต้องการตั้งครรภ์
ความคาดหวังในเพศของบุต
เศรษฐานะและสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์กับคนใกล้ชิด
ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากคู่สมรสขณะตั้งครรภ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านภาพลักษณ์ของหญิงตั้งครรภ์ในแต่ระยะของการตั้งครรภ
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 1
ลักษณะการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายยังไม่ปรากฏชัดเจน หญิงตั้งครรภ์จึงไมรู้สึก ต่อการเปลี่ยนแปลง
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 2
ลักษณะการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายมากขึ้นหญิงตั้งครรภร์ รู้สึกต่อการเปลี่ยนแปลง
ของร่างกาย บางคนรู้สึกปฏิเสธต่อรูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไปความรู้สึกดังกล่าวจะเกิดขึ้นเป็นครั้งคราว ในขณะที่บาง คนรู้สึกว่าได้รับการเอาใจใส่จากบุคคลรอบข้างมากขึ้น
ระยะของการตั้งครรภ์ไตรมาส 3
ลักษณะการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายมากขึ้น รู้สึกเคลื่อนไหวไม่สะดวก ผิวหนัง บริเวณ หน้าท้องและเต้านมแตกทํา ให้รู้สึกอับอาย มีความรู้สึกทางด้านลบต่อ ภาพของตนเองมาก