Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติในระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติในระบบประสาท
การประเมินสภาพผู้ใหญ่ในระบบประสาท
การตรวจร่างกาย
การตรวจศีรษะ คอและหลัง
คลำ บริเวณกระโหลกศีรษะหาปุ่มหรือก้อนเนื้อ
เคาะ เคาะเบาๆเหนือปุ่มกระดูกสันหลังว่าเจ็บหรือกดเจ็บ
ดู ขนาด รูปร่าง
เสียงฟู่หรือเสียงผิดปกติอื่นที่เส้นเลือดใหญ่หรือเส้นเลือดอื่นที่คอ
การรับความรู้สึก (Sensory function)
การทดสอบสัมผัส (Touch sensation)
การทดสอบความรู้สึกเจ็บปวด (Pain sensation)
การทดสอบความรูสึกสั่นสะเทือน (Vibration sense)
การทดสอบความรู้สึกร้อนเย็น (Temperature sensation)
การทดสอบความรู้สึกเกี่ยวกับตําแหน่ง (Position sense)
การทดสอบความจําแนกลักษณะของวัตถุโดยการสัมผัส (Sterognosia)
การเคลื่อนไหว (Motor function)
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
การประสานงานของกล้ามเนื้อ (Muscle coordination)
ขนาดและความตึงตัว (muscle size and tone)
ท่าเดินและท่ายืน ถ้าเดินไม่ตรง
การเคลื่อนไหวในผู้ป่วยหมดสติ จากการประเมิน GCS
ปฏิกิริยาตอบสนองหรือรีเฟล็กซ์(Reflexes)
ความผิดปกติของเยื่อหุ้มสมองและรากประสาท
การทำงานของเส้นประสาทสมอง (Cranial nerves)
การตรวจทางห้อง ปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การเจาะหลัง เพื่อวัดความดันในช่องไขสันหลังและส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
การเอกซเรย์ภาพตัดด้วยคอมพิวเตอร์ (CT brain)
การถ่ายภาพด้วยคลื่นแม่เหล็ก (MRI brain , MRA )
การฉีดสีเข้าหลอดเลือดสมอง (Cerebral angiography)
การสวนหลอดเลือด (Digital subtraction
angiography, DSA)
การซักประวัติ
อาการสำคัญและประวัติเจ็บป่วยในปัจจุบัน
เวลาที่เกี่ยวข้อง
อาการอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ตำแหน่งและการกระจาย
ปัจจัยหรือสิ่งที่ทำให้อาการเป็นมากขึ้น และ ลดลง
ลักษณะอาการและความรุนแรง
การรักษาในอดีตและผล
ระยะเวลาในการเกิดอาการ
การดำเนินโรค
อาการผิดปกติทางระบบประสาทที่พบบ่อย
การเปลี่ยนแปลงของการรู้สต
อาการชัก
ปวดศีรษะ
เวียนศีรษะ
คลื่นไส้ อาเจียน
ชา อ่อนแรงของแขนขา
ปวดหลัง ปวดคอ
ถ่ายอุจจาระปัสสาวะผิดปกต
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาทส่วนปลายหรือไขสันหลัง
Spinal cord injury
เกิดจากการบาดเจ็บ การเสื่อมของอวัยวะ
หรือการอักเสบติดเชื้อ
การบาดเจ็บที่ไขสันหลังแบ่งตามระดับการบาดเจ็บ
บาดเจ็บชนิดสมบูรณ์ (Complete spinal cord injury)
บาดเจ็บชนิดไม่สมบูรณ์ (Incomplete spinal cord injury)
การบาดเจ็บไขสันหลัง รวมถึงรากประสาทที่อยู่ในโพรงของกระดูกสันหลัง
Herniated Nucleus
Palposus
สาเหตุของโรคหมอนรองกระดูกเคลื่อนทับเส้นประสาท
การยกของหนักด้วยท่าทางที่ไม่ถูกต้องบ่อยๆ
น้ำหนักตัวที่มากเกินไปหรือ อุบัติเหตุและการบาดเจ็บต่อกระดูกสันหลัง
เกิดจากการแตกของหมอนรองกระดูกสันหลัง จนทำให้น้ำในหมอนรองกระดูกสันหลังเคลื่อนออกมาจนกดทับเส้นประสาท
Bell’s palsy
การบวม อักเสบของประสาทใบหน้าคู่ที่ 7 (Facial nerve)
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่าเกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ โดยเฉพาะไวรัส
Spondylolithiasis
กระดูกสันหลังระดับเอวเคลื่อนไปข้างหน้าเหนือข้อต่อปล้องกระดูกชั้นล่าง ทำให้ทับเส้นประสาท
สาเหตุของโรคกระดูกสันหลังเคลื่อน
ข้อต่อกระดูกสันหลังเสื่อมมาก หรือผิดปกติแต่กำเนิด
กระดูกสันหลังส่วน pars interarticularis หัก
อุบัติเหตุและการบาดเจ็บต่อกระดูกสันหลัง
Trigeninal neuralgia
เป็นโรคที่พบได้บ่อยทั้งในผู้ชายและผู้หญิงวัยกลางคนและผู้สูงอาย
สาเหตุ
การที่เส้นเลือดที่อยู่ใกล้เคียงกับเส้นประสาทใบหน้าคู่ที่ 5 (trigeminal nerve)
อาการ
ปวดแปลบคล้ายไฟช็อตที่บริเวณใบหน้า อาจมีอาการคล้ายปวดฟัน ปวดบริเวณเหงือก
การประเมินสภาพ
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ: การตรวจสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือ MRI เพื่อวินิจฉัยแยกโรค
การรักษาโรคปวดเส้นประสาทใบหน้า
การใช้ยา กลุ่มยากันชัก เพื่อช่วยบรรเทาอาการปวด
การผ่าตัดเพื่อแยกเส้นเลือดที่กดทับเส้นประสาทออก (microvascular decompression)
การฉายรังสีเพื่อทำลายเส้นประสาท ซึ่งจะทำให้มีอาการชาใบหน้าตลอดเวลา หรือมีอาการทั้งปวดและชาใบหน้าตลอดเวลา (anesthesia dolorosa)
Spinal cord stenosis
ความผิดปกติของโพรงกระดูกสันหลังที่แคบผิดปกติส่งผลให้เส้นประสาทไขสันหลังถูกกดทับ
สาเหตุ
เกิดจากความเสื่อมของอวัยวะในกระดูกสันหลัง ทั้งหมอนรองกระดูก เส้นเอ็น และข้อต่อ
อาการ
อาการมักเกิดขึ้นแบบค่อยเป็นค่อยไป
การรักษาโรคโพรงกระดูกสันหลังตีบแคบ
รับประทานยาแก้อักเสบหรือยาคลายกล้ามเนื้อเพื่อบรรเทาอาการปวด
กายภาพบำบัด
การฉีดยาสเตียรอยด์เข้าโพรงประสาท
การผ่าตัดเช่น ผ่าตัดผ่านกล้องเอ็นโดสโคป กล้องจุลทรรศน์
การพยาบาลและการรักษาผู้ป่วยที่มีโรคหรือภาวะต่อไปนี้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีโรคหรือความผิดปกติเกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด
Alteration of
conscious
drowsy , stupor , semicoma จนถึง coma
การรักษา
นบางรายที่เกิดสมองบวมจะให้พวกสเตียรอยด
ลดการทำงานของสมอง ลดการใช้ออกซิเจนของสมองใช้พวกบาร์บิทูเรต
ถ้าความดันโลหิตลดลง เลือดไปเลี้ยงสมองส่วนนั้นก็น้อยลงด้วย ควรเพิ่มความดันโลหิต
การผ่าตัดเอาลิ่มเลือดออกในบริเวณที่เอาออกได
ทำผ่าตัด
Seizure and Epilepsy
เป็นผลจากเซลล์สมองปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิดปกติขึ้นมาพร้อมๆกัน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทำงานของเซลล์สมองอย่างเฉียบพลัน
โรคลมชัก (Epilepsy)
เป็นกลุ่มโรคที่ทำให้ชักซ้ำหลายๆครั้ง โดยไม่มีปัจจัยกระตุ้น
อาการชักจากปัจจัยกระตุ้น
การหยุดเหล้าหรือยาบางชนิด
เมตาบอลิกที่มีผลต่อเซลล์สมอง
สารเสพติดและยากระตุ้น
ประสาท
อาการชักหลังบาดเจ็บ/ติดเชื้อสมอง
eclampsia
ไข้สูงในเด็ก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนเลือดในสมอง
Increased Intracranial Pressure (IICP)
สาเหตุ
น้ำไขสันหลังคั่ง โพรงสมองโตขึ้น
สิ่งครอบครองพื้นที่ในกะโหลกศีรษะ
เลือดคั่งและมีก้อนเลือด
เนื้อสมองเพิ่มขึ้น
เมื่อมีIICP ร่างกายจะมี กลไกการปรับชดเชย 3 ระยะ
ระยะชดเชยโดยการปรับควบคุมอัตโนมัต
ระยะปรับตัวชดเชยแบบ Cushing’ response
ระยะเสียกลไกการปรับชดเชยโดยสิ้นเชิง
อาการและอาการแสดงของภาวะ IICP
การมองเห็นผิดปกติ ตามัว ภาพซ้อน
สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป ปวดศีรษะและอาเจียน
กล้ามเนื้ออ่อนแรงด้านตรงข้ามกับรอยโรค
ในระยะท้าย รีเฟลกซ์ก้านสมองทั้ง papillary reflex, corneal reflex, gag reflexoculocephalic reflex, oculovestibular reflex เสียไป
Stroke
ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันไม่ได้
อายุ เมื่ออายุมากขึ้น หลอดเลือดก็จะเสื่อมตามไปด้วย
เพศ พบว่าเพศชายมีความเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมองสูงกว่าเพศหญิง
เชื้อชาติพบว่าคน African American จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
Head injury
การบาดเจ็บที่เกิดขึ้นต่อศีรษะจากหนังศีรษะที่
อยู่ภายนอกสุดเข้าไปจนถึงแกนสมอง (brain stem)
การแตกของกะโหลกศีรษะ (Skull fractures)
การมีเลือดออกภายในกระโหลกศีรษะ
เลือดออกเหนือชั้นดูรา
เลือดออกใต้ชั้นดูรา
เลือดออกในเนื้อสมอง
เลือดออกใต้ชั้นอแรคนอยด
เลือดออกในโพรงสมอง
ประเภทของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
การบาดเจ็บต่อหนังศีรษะ ถลอก ช้ำ ฉีกขาดและโน (subgaleal hematoma)
การบาดเจ็บของสมอง
สมองกระทบกระเทือน Cerebral concussion
สมองฉีกขาด (Crerebral laceration)
สมองช้ำ (Cerebral contusion)
การบาดเจ็บต่อเซลล์สมอง
การบาดเจ็บต่อประสาทสมอง
ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บที่ศีรษะ
รุนแรงน้อย
GCS 13-15 ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี มักหมดสติไปเพียงชั่วครู่ หาย
เป็นปกติได้
รุนแรงปานกลาง
มักหลับตลอดเวลา ตื่นเมื่อปลุก ทำตามคำสั่งง่ายๆ ได้ เคลื่อนไหวหนีความเจ็บปวด ส่งเสียงไม่เป็นคำพูด
รุนแรงมาก
รู้สึกตัวน้อยมากหรือไม่รู้สึกตัว
ไม่สามารถทำตามคำสั่งได้
Aneurysm
ภาวะ Arteriovenous malformation (AVM)
เกิดอาการชัก
ภาวะหลอดเลือดในสมองโป่ง (Intracranial aneurysm)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีเนื้องอกหรือการเสื่อมของระบบประสาท
Parkinson
เกิดจากเซลล์สมองบริเวณก้านสมอง (Substantia nigra ใน Basal ganglia) มีจำนวนลดลง โดยไม่ทราบสาเหตุ
อาการ
สีหน้าเมินเฉย
ไม่แสดงอารมณ
พูดเบาไม่ชัด
เขียนหนังสือลำบาก
Brain tumor
สาเหตุของเนื้องอกสมอง
สาเหตุไม่ชัดเจน
พยาธิสภาพ
เนื้องอกกดเบียดเนื้อสมองอาจทำให้เกิดภาวะสมองบวม ความดันในกะโหลกศีรษะสูง น้ำคั่งในโพรงสมอง การเคลื่อนของสมอง (brain herniation) เนื้องอกอาจกดทับเส้นประสาทสมอง หลอดเลือดสมองจนเกิดภาวะสมองขาดเลือด ทำให้มีอาการผิดปกติทางระบบประสาท เสียชีวิตหากไม่ได้รับการรักษา
อาการ
คลื่นไส้ อาเจียนแบบพุ่ง
ตามัว มองเห็นภาพซ้อน
ปวดศีรษะ
ระดับความรู้สีกตัวเปลี่ยนแปลง ซึม หมดสต
ชัก เนื่องจากสมองถูกกระตุ้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอักเสบ ติดเชื้อของระบบประสาท
Encephalitis
เกิดจากเชื้อไวรัส เกิดการอักเสบของเนื้อสมองทั่วๆ ไปหรือเฉพาะที่ซึ่งอาจทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อหุ้มสมอง
Brain abscess
เกิดการลุกลามของเชื้อโรคจากอวัยวะใกล้เคียง
Meningitis
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียเช่น Streptococcus pneumoniae
ในภาวะปอดอักเสบ และเชื้อ Neisseria meningitidis
Multiple sclerosis
การอักเสบของปลอกประสาทที่หุ้มเส้นประสาท ของสมอง ตาและไขสันหลัง
Myasthenia gravis
เป็นโรคจากการมีภูมิคุ้มกันต่อตนเอง (Autoimmune)
สาเหตุของโรคไม่แน่ชัด โรคนี้เกิดขึ้นได้ทุกช่วงอายุ