Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบขับถ่ายปัสสาวะ, นางสาวศิริพร …
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ภาวะไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney Injury ; AKI)
สาเหตุ
จากโรคของเนื้อไตเอง
มีการอุกกลั้นทางเดินปิสสาวะ
การไหลเวียนไตผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
มีอาการบวมที่ขาและเท้า
ปัสสาวะน้อยลง หรือไม่ปัสสาวะเลย
รู้สึกมึนงง อ่อนเพลีย หรือง่วงเหงาหาวนอนตลอดเวลา
อาการปวดหลังบริเวณชายโครง หายใจถี่
การรักษา
รักษาประดับประคอง
รักษาตามสาเหตุ
พยาธิสภาพ
บทบาทด้านการไหลเวียนเลือด เมื่อไตขาดเลือดไปเลี้ยง ทำให้อัตราการกรองของไตลดลงอย่างมาก ทำให้ไตสร้าง nitric oxide ซึ่งทำหน้าที่ขยายหลอดเลือดลดลง ร่วมกับการสร้าง endothelin ซึ่งมีฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดหดตัว ทำให้เซลล์ทิวบูลถูกทำลายและไตวายเพิ่มขึ้น
บทบาทของเซลล์ทิวบูล เมื่อเซลล์ทิวบูลไตถูกทำลาย ทำให้เซลล์หลุดออกมาทางท่อไต และอุดกั้นท่อไต ทำให้สารน้ำต่างๆที่ถูกกรองออกมาไหลย้อนผ่านเซลล์ทิวบูลเข้าไปในร่างกาย ผลที่ตามมาคือ ทำให้อัตราการกรองของไตลดลง ทำให้ไตวายเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
ให้การพยาบาลโดยการทำ Hemodialysis
ให้การพยาบาลแบบประคับประคอง
ป้องกันการเกิด hyponatremia
ป้องกันการเกิด hyperphosphatemia
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่จะเกิดพิษต่อไต
ป้องกันไม่ให้เกิดความผิดปกติอื่น
ป้องกันการเกิด volume overload
ป้องกันการเกิด metabolic acidosis
การให้สารอาหารที่เพียงพอ
ป้องกันการเกิด hyperkalemia
ไตวายเรื้อรัง (Chronic kidney disease; CKD)
อาการและอาการแสดง
ระยะที่ 3 อาจมีภาวะซีด ความดันโลหิตสูง
ระยะที่ 4 มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร บวม
ระยะที่ 2 อาการผิดปกติ ความดันโลหิดสูง ผลตรวจปกติ
ระยะที่ 1 ยังไม่พบความผิดปกติ บางรายมีโปรตีนในปัสสาวะ
ระยะที่ 5 เสียสมดุลน้ำและเกลือแร่ มีอาการของยูรีเมีย เช่นมีภาวะหัวใจวายเนื่องจากน้ำเกิน
สาเหตุ
Respiratory ปอดบวมน้ำ ปอดกเสบ
Neurology ซึม ชัก ขาดสมาธิ
Cadiovascular ความตันโลหิดสูง หัวใจวาย
skin ผิวแห้ง ลอกเป็นขุย
การดูแล
หลีกเลี่ยงการรับประทานยาที่มีผลต่อไต เช่น Aspirin และParacetamol
หลักเลี่ยงการกลั้นปัสสาวะ
พักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 6-8 ชั่วโมง
กลไกการเกิด
ติดเชื้อ
เนื่องจากระดับน้ำตาลที่สูงในผู้ป่วยเบาหวาน จะกดการทำงานของภูมิต้านทาน การติดเชื้อของร่างกาย ส่งผลให้ผู้ป่วยติดเชื้อได้ง่ายมากกว่าปกติ
WBC = 11000 cell/mm3
ค่าปกติ = 5,000-10,000 cell/mm3
Neutrophil = 78% ค่าปกติ = 40-75%
ภาวะน้ำเกิน
มีการสะสมของของเหลวในเซลล์และช่องว่างระหว่างเซลล์ ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง จึงส่งผลให้เกิดอาการอ่อนเพลียและเหนื่อยง่าย ทำให้นอนราบไม่ได้
จากการที่ไตขับน้ำออกได้น้อย และผู้ป่วยได้รับน้ำมาก จึงทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการบวมที่บริเวณหนังตา และบวมที่แขน ขา pitting edema Grade 3+ คือ สังเกตเห็นได้ชัด คงอยู่นานหลายนาที
ปัสสาวะบ่อย
เมื่อฮอร์โมนอินซูลินที่ตับอ่อนผลิตได้ไม่เพียงพอ หรือไม่สามารถผลิตได้ ระดับน้ำตาลในเลือดจะสูงขึ้นกว่าเกณฑ์ปกติ จึงปล่อยออกมาพร้อมน้ำ กลายเป็นปัสสาวะ ทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานปัสสาวะบ่อยและมีปริมาณมาก
ปัจจัยเสี่ยง
ความดันโลหิตสูง
ไตไม่สามารถขับน้ำและเกลือแร่ออกจากร่างกายได้น้ำและ เกลือแร่สะสมมากผิดปกติทำให้ความดันโลหิตสูง
ยา
ผู้ป่วยรับประทานยาไม่ต่อเนื่องจึงส่ง ห้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
เบาหวาน
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยรับประทานยาไม่ต่อเนื่อง จึงส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง จึงทำให้ไตทำงานหนัก จึงเกิดการเสื่อมสภาพ เพราะไตมีหน้าที่กรองสารอาหารและน้ำตาลให้คงไว้ในร่างกาย
อายุ
ผู้ป่วยอายุ 56 ปี เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไม่พึ่งอินซูลิน พบในคนที่มีอายุมากกว่า 40 ปี ขึ้นไป เนื่องจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อนสามารถผลิตอินซูลินได้ แต่ไม่สามารถนำอินซูลินไปใช้ได้ ร่างกายจึงไม่สามารถนำน้ำตาลเข้าไปในเนื้อเยื่อ เพื่อเผาผลาญให้เกิดพลังงาน จึงทำให้มีน้ำตาลในเลือดสูง จึงต้องรักษาด้วยวิธีการกินยาเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด แต่ในกรณีศึกษา ผู้ป่วยรับประทานยาไม่ต่อเนื่อง
การรับประทานอาหาร
ผู้ป่วยชอบรับประทานอาหารรสจัด หวาน มัน เค็ม
การรักษา
พลังงาน 2000-2500 Kcal/d
งดดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ เพราะทำให้ความดันเพิ่ม
จำกัดอาหารโปรตีนเมื่อเข่าสู่ระยะที่ 2-3 = 0.5-1 กรัม/นน. 1 ก.ก เน้นโปรตีนคุณภาพ
จำกัดน้ำ 500-700 ml. ได้จากขบวนการ metabolic 400 ml
หน้าที่ของไต
ชับถ่ายของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญสารอหารต่างๆ
สร้างสารที่ควบคุมความดันโลหิด
รักษาสมดุลของน้ำและเกลือแร่
นางสาวศิริพร ตลอดแก้ว รหัสนักศึกษา 6301110801046