Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CARDIOVASCULAR DISEASE & NURSING CARE, นางสาวอภิภาวดี รุ่งสว่าง…
CARDIOVASCULAR DISEASE
& NURSING CARE
Infective endocarditis
การติดเชื้อที่ผนังหัวใจ ลิ้นหัวใจ
พบในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจอยู่ก่อน
โรคลิ้นหัวใจ
หลังผ่าตัดมีลิ้นหัวใจเทียม
หัวใจพิการแต่กำเนิด
พยาธิสภาพ
damaged endothelium มี platelet&fibrin
เกาะเกิด thrombus ต่อมามีbacteremia
จากสาเหตุใดก็ตาม bacteria จะมาเกาะเกิด infected vegetation
อาการแสดง
มีไข้ ไข้สูง
หนาวสั่น
ปวดเมื่อยตามตัว
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ปวดตามข้อ
มี murmur, sepsis, CHF, embolism ลิ้น หัวใจตีบ/รัว
CARDIAC TAMPONADE
ภาวะที่มีของเหลวปริมาณมากอยู่ในถุงเยื่อหุ้มหัวใจ
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจเพื่อไปเลี่ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายลดลง
สาเหตุ
มีบาดแผลบริเวณหัวใจ หรือได้รับบาดเจ็บจากการกระแทก
ภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบจากติดเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อไวรัส
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ภาวะหัวใจล้มเหลว
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ภาวะหัวใจล้มเหลว
ทำการฉายรังสีบริเวณหน้าอก
การรักษา
การรักษาอย่างเร่งด่วน
การตัดเยื่อบุหัวใจเพื่อลดแรงดันภายในหัวใจ
การเจาะดูดเอาของเหลวออกจากช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
ผ่าตัดเปิดช่องทรวงอกเพื่อถ่ายเทเลือดหรือเอาลิ่ม เลือดอุดตันออก
อาจให้ออกซิเจน สารน้ำ หรือยาเพื่อช่วยเพิ่ม ความดันโลหิต
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำท่วมปอด
เส้นเลือดแดงใหญ่ฉีกขาด
การติดเชื้อ
เกิดอาการช็อค
NORMAL SINUS RHYTHM (NSR)
Depolarization
ประจุไฟฟ้าบวกภายนอกเซลล์
เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
แลกเปลี่ยนกับประจุไฟฟ้าบวกภายในเซลล์
Repolarization
ประจุไฟฟ้าภายในเซลล์
โปแตสเซียมกลับสู่เซลล์
โซเดียมกลับออกนอกเซลล์
การคลายตัวของหัวใจ (diastole)
ELECTROCARDIOGRAPHY (EKG / ECG)
P wave เกิด atrial depolarization หัวใจห้องบนบีบตัว
PR interval เป็นการแสดงถึงระยะเวลาที่คลื่น depolarization
QRS complex
เป็นคลื่นรวมกัน 3 คลื่น คือ Q, R และ S waves
ventricular depolarization
ST segment
ventricular depolarization
เริ่มภาวะ repolarization
T wave แสดงถึงการเกิด ventricular repolarization
QT interval แสดงถึง คลื่นไฟฟ้าหัวใจทั้งหมดในหัวใจห้องล่าง(ventricle)
PACEMAKER
เครื่องมือส่งสัญญาณไฟฟ้าเพื่อกระตุ้น/แก้ไขจังหวะการเต้นของหัวใจ
PERMANENT PACEMAKER
Single chamber
ใส่สายถาวร 1 เส้นบริเวณหัวใจห้องล่างขวา
Dual chamber
ใส่สายถาวร 2 เส้นบริเวณหัวใจ ห้องบนและล่างขวา
Cardiac Resynchronization Therapy
CRT ใส่สายถาวร 2 เส้นและเพิ่มอีก 1 เส้นห้องล่างซ้าย
เพื่อให้ 2 ห้องล่างบีบตัวสัมพันธ์กัน
CORONARY ARTERY DISEASE
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
DM, HT, Lipidemia
สูบบุหรี่
กรรมพันธ์
ไม่ออกกำลังกาย
พยาธิสภาพ
มีความผิดปกติของเซลล์บุผนังด้านในของหลอดเลือดแดงcoronary
ไขมันสะสม หลอดเลือดอักเสบจนแข็งและหนาตัวเกิดการอุดตัน
อาการ
เจ็บลึกๆหรือปวดแน่นตรงกลางหน้าอก
การตรวจพิเศษ
Cardiac Enzyme Markers (CK-MB, Troponin T, Troponin I)
coronary angiography
การใช้สายสวนขนาดเล็ก
12-lead Electrocardiography(ST Elevation & ST Depression)
Exercise Stress Test
Cardiac MRA
Echocardiography
HEART FAILURE
พยาธิสรีรภาพ
สมรรถภาพการทำงานของหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง
เพิ่มการกระตุ้นผนังหัวใจกระตุ้นRAAS
ระบบประสาท sympathetic ส่งผลให้ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแอลง
อาการ
น้ำคั่งในปอด
หายใจไม่ออกในขณะพัก
นอนราบมีหายใจติดขัด ไอแห้งๆ
บวมน้ำ
เลือดไปยังไตน้อยลง
ข้อเท้า/ขาบวม กดบุ๋ม ท้องมาน ตับ/ม้ามโต
เหนื่อยล้าและเวียนศีรษะ
เป็นผลจากปริมาณเลือดที่ส่งไปยังอวัยวะต่าง ๆ ลดลง
หัวใจเต้นผิดปกติ และถี่เกินไป
ปริมาณเลือดลดลง
จึงเพิ่มอัตราสูบฉีดเลือดเร็วขึ้น
กระตุ้นระดับความเครียด
เกิดการปลดปล่อยฮอร์โมนความเครียดอย่างผิดปกติ
แบ่งความรุนแรงของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดตาม Canadian Society(CCS)
Class I
เจ็บหน้าอกเมือเร่งรีบหรือ ทำงานหนัก
ถ้าเดินหรือขึ้นบันไดจะไม่มีอาการ
Class II
เจ็บหน้าอกเวลาเดินไกลหรือขึ้นบันไดมากกว่า 1 ชัน
ขึ้นเขาหรือทางลาดยางมีอาการหลังตื่นนอนตอนเช้า
Class III
มีอาการเมื่ออกแรงเพียงเล็กน้อย เช่น ขึ้นบันไดแค่ 1 ชั้น
Class IV
มีอาการบ่อยจนแทบจะทำกิจวัตรประจำวันไม่ได้
อาจมีอาการขณะนั่งพัก
VALVULAR HEART DISEASE
พยาธิสภาพ
เกิดผังผืดจากแคลเซียมหรือไขมันเกาะลิ้น/ส่วนประกอบลิ้น
อาการ
หน้ามืด เป็นลม เจ็บหน้าอก(เกิดร่วมกับCAD) murmur
การรักษา
Medical treatment (antibiotic, anticoagulant)
Percutaneous balloon mitral valvulomy (PBMV)
Surgical treatment
สาเหตุการเกิดโรค
โรคลิ้นหัวใจตีบ
โรคลิ้นหัวใจรัว
นางสาวอภิภาวดี รุ่งสว่าง 6301110801058