Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CARDIOVASCULAR DISEASE & NURSING CARE - Coggle Diagram
CARDIOVASCULAR DISEASE
& NURSING CARE
VASCULAR DISEASE
หลอดเลือดแดงตีบแข็งเนื่องจากไขมันสะสม
ทำให้เลือดไหลไปเลี้ยงอวัยวะส่วนปลายที่ต่ำกว่า
บริเวณอุดตันลดลง
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
DM, HT, Lipidemia
สูบบุหรี่จัด
กรรมพันธุ์
อาหารไขมัน
ไม่ออกกำลังกาย
ความเครียด
อาการแสดง
คลำชีพจรไม่ได้ ผิวหนังซีด
เย็น ปวด ชา ตะคริว อ่อนแรง ฟังเสียงฟู่
บริเวณหลอดเลือดที่มีการอุดตันเพราะมีการไหลวนของเลือด มักมีอาการปวดขาเมื่อเดิน
การตรวจพิเศษ
ankle-brachial index: ABI
Duplex ultrasound scanning
Arteriography
การรักษา
ปรับพฤติกรรมเสี่ยง
การขยายหลอดเลือด (percutaneuous transluminal angioplasty)
การผ่าตัด
ไม่สามารถรักษาด้วยยาหรือทำหัตถการได้
อาการปวดรุนแรงหรือปวดในขณะพักมากกว่า 2 สัปดาห์
มีการอุดตันที่รุนแรงและมีแนวโน้มเกิดแผลขาดเลือด
เกิดเนื้อตายของเนื้อเยื่อส่วนปลายเป็นแผลเรื้อรัง
วิธีผ่าตัด
Sympatectomy
Embolectomy or Thrombectomy
Arterial embolectomy
Arterial bypass surgery
Amputation
ยา
AORTIC ANEURYSM
ภาวะความผิดปกติที่หลอดเลือดแดงใหญ่มีขนาดโตขึ้น
ผนังหลอดเลือดบาง ปริและรั่วซึมได้
ปัจจัยเสี่ยง
ภาวะไขมันในเลือดสูง
ความดันโลหิตสูง
โรคถุงลมโป่งพอง
มีความผิดปกติทางพันธุกรรมบางชนิด เช่น กลุ่มอาการ Marfan
อาการแสดง
มักไม่มีอาการ / พบโดยบังเอิญจาก Chest X-ray, U/S
คลำพบก้อนในช่องท้องที่เต้นได้ตามจังหวะหัวใจ
อาการเกิดจากที่หลอดเลือดขนาดใหญ่ไปกดเบียดอวัยวะข้างเคียง
การรักษา
การคุมความดันโลหิต
คุมระดับไขมันในเลือด
การผ่าตัดOpen Surgery
การผ่าตัดโดยใส่หลอดเลือดเทียมชนิดหุ้มด้วยขดลวด
HYPERTENSION
BLOOD PRESSURE
Blood Pressure
Systolic Blood Pressure(SBP)
Diastolic Blood Pressure(DBP)
Pulse Pressure
Primary Hypertension
ชนิดไมมีสาเหตุ
มักไม่มีอาการ พบร้อยละ 90
Secondary Hypertension
ชนิดที่มีสาเหตุ พบร้อยละ 10
สาเหตุที่พบบ่อย คือ ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ
(Obstructive sleep apnea)
ปัจจัยเสี่ยง
ขาดการออกกำลังกาย
โรคเบาหวาน โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
เพศชาย พบบ่อยกว่า เพศหญิง
รับประทานอาหารเค็ม
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหัวใจล้มเหลว
หลอดเลือดสมองแตก
หลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
ประสาทตาเสื่อม
DEEP VEIN THROMBOSIS
Deep Vein Thrombosis: DVT
ภาวะที่มีลิ่มเลือดก่อตัวที่หลอดเลือดด าส่วนลึกในร่างกาย
โดยอาจเกิดขึ้นที่ต าแหน่งเดียวหรือหลายต าแหน่ง
Venous Thromboembolism: VTE
ภาวะที่มีลิ่มเลือดก่อตัวขึ้น โดยมากจะเป็นที่หลอดเลือดดำลึกที่ขา
(มักรู้จักในชื่อ ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำส่วนลึก)
Pulmonary Embolism: PE
ภาวะที่หลอดเลือดบริเวณปอดเกิดการอุดกั้น
ส่วนใหญ่มักเกิดจากลิ่มเลือดที่อุดตัน
บริเวณหลอดเลือดขาหลุดไปอุดกั้นหลอดเลือดปอด
สาเหตุ
เลือดไหวเวียนช้า
การจับตัวของเลือดในหลอดเลือด
เส้นเลือดได้รับบาดเจ็บ
มีการใส่สายสวนที่หลอดเลือด
การรักษา
การรักษาโดยการใช้ยา
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
เพื่อลดการจับตัวกันของเลือดเป็นลิ่มเลือด
การวางตะแกรงกรองลิ่มเลือด (Filters)
การผ่าตัด
VARICOSE VEIN
เกิดจากการมีเลือดดำคั่งอยู่ในเส้นเลือดดำ
ส่งผลให้เส้นเลือดดำขยายตัว โป่งพอง ขดไปมา
เกิดกับเส้นเลือดดำได้ทั่วร่างกาย
พยาธิสภาพ
ลิ้นในหลอดเลือด (Valve)
ควบคุมการไหลเวียนของเลือดดำ
การปิดกั้นไม่ให้เลือดดำจากขาซึ่งจะต้องไหลย้อนต้าน
แรงโน้มถ่วงของโลก
โดยอาศัยแรงบีบของกล้ามเนื้อบริเวณเท้า
เพื่อนำเลือดดำไหลกลับขึ้นสู่หัวใจ
ปัจจัยเสี่ยง
เพศหญิงเป็นโรคมากกว่าผู้ชายประมาณ 3 เท่า
คนอ้วนหรือผู้ที่มีน้ำหนักตัวเกิน
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
ผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย
ภาวะแทรกซ้อน
เกิดแผลบริเวณขาและเท้าได้ง่ายแผลหายช้าจากการไหลเวียนเลือดไม่ดี
อุบัติเหตุถูกของมีคมตรงเส้นเลือดขอด เกิดแผลเลือดออกรุนแรงได้
เส้นเลือดขอดเรื้อรัง สีของเท้าจะคล้ำแดงขึ้น
หรือดำคล้ำจากการคั่งของเลือด
บริเวณข้อเท้าอาจแข็งจากการแข็งตัวของไขมันใต้ผิวหนัง