Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CARDIOVASCULAR DISEASE & NURSING CARE - Coggle Diagram
CARDIOVASCULAR DISEASE
& NURSING CARE
NORMAL SINUS RHYTHM (NSR)
Repolarization
ประจุไฟฟ้าภายในเซลล์
โปแตสเซียมกลับสู่เซลล์
โซเดียมกลับออกนอกเซลล์
การคลายตัวของหัวใจ (diastole)
Depolarization
ประจุไฟฟ้าบวกภายนอกเซลล์
โซเดียม
แลกเปลี่ยนกับประจุไฟฟ้าบวกภายในเซลล์
โปแตสเซียม
เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
การบีบตัวของหัวใจ (systole)
ELECTROCARDIOGRAPHY (EKG / ECG)
การส่งคลื่นน้ำเริ่มจาก SA node ในอัตรา 60 – 100
ครั้งต่อนาที
่อัตราการเต้นของหัวใจเกิดจากการ
บีบและคลายตัวเป็นจังหวะอย่างสม่ำเสมอ
P wave เกิด atrial depolarization หัวใจห้องบนบีบตัว
PR interval เป็นการแสดงถึงระยะเวลาที่คลื่น depolarization
QRS complex
เป็นคลื่นรวมกัน 3 คลื่น คือ Q, R และ S waves
ventricular depolarization
ST segment
ventricular depolarization
เริ่มภาวะ repolarization
T wave แสดงถึงการเกิด ventricular repolarization
QT interval แสดงถึง คลื่นไฟฟ้าหัวใจทั้งหมดในหัวใจห้องล่าง (ventricle)
PACEMAKER
เครื่องมือส่งสัญญาณไฟฟ้าเพื่อกระตุ้น/แก้ไขจังหวะการเต้นของหัวใจ
PERMANENT PACEMAKER
Single chamber
ใส่สายถาวร 1 เส้นบริเวณหัวใจห้องล่างขวา
Dual chamber
ใส่สายถาวร 2 เส้นบริเวณหัวใจ
ห้องบนและล่างขวา
Cardiac Resynchronization Therapy:
CRT ใส่สายถาวร 2 เส้นและเพิ่มอีก 1 เส้นห้องล่างซ้าย
เพื่อให้ 2 ห้องล่างบีบตัวสัมพันธ์กัน
(Biventricular Pacemaker And ICD (Biventricular ICD)
CORONARY ARTERY DISEASE
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค
DM, HT, Lipidemia
สูบบุหรี่
กรรมพันธ์
ไม่ออกกำลังกาย
พยาธิสภาพ
มีความผิดปกติของเซลล์บุผนังด้านในของหลอดเลือดแดงcoronary
ไขมันสะสม หลอดเลือดอักเสบจนแข็งและหนาตัวเกิดการอุดตัน
อาการ
เจ็บลึกๆหรือปวดแน่นตรงกลางหน้าอก
มี/ไม่มีอาการลื่นไส้อาเจียน เหงื่อออก
มี/ไม่มีอาการเหนื่อย
การตรวจพิเศษ
Cardiac Enzyme Markers (CK-MB, Troponin T, Troponin I)
coronary angiography
การใช้สายสวนขนาดเล็ก
สอดเข้าไปตามหลอดเลือดแดงโดยใส่สายร้อยขึ้นไปผ่านขาหนีบข้อพับแขน หรือข้อมือ
จนกระทั่งปลายสายไปถึงหลอดเลือดหัวใจ
12-lead Electrocardiography(ST Elevation & ST Depression)
Exercise Stress Test
Cardiac MRA
Echocardiography
HEART FAILURE
พยาธิสรีรภาพ
สมรรถภาพการท างานของหัวใจห้องล่างซ้ายลดลง
เพิ่มการกระตุ้นผนังหัวใจกระตุ้นRAAS
ระบบประสาท sympathetic ส่งผลให้ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแอลง
ลักษณะภาวะหัวใจล้มเหลว
Left-sided and right-sided
Forward and backward
Acute and chronic
High-output and low-output
Myocardial/circulatory
อาการ
น้้ำคั่งในปอด
ส่งผลให้เกิดอาการหายใจไม่ออกในขณะพัก
นอนราบมีหายใจติดขัด ไอแห้งๆ
บวมน้ำ
เลือดไปยังไตน้อยลง
การกักน้ำผิดปกติ
น้ าส่วนเกินส่งผลให้ข้อเท้า/ขาบวม กดบุ๋ม ท้องมาน ตับ/ม้ามโต
เหนื่อยล้าและเวียนศีรษะ
เป็นผลจากปริมาณเลือดที่ส่งไปยังอวัยวะต่าง ๆ ลดลง
ทำให้รู้สึกสับสนได้
หัวใจเต้นผิดปกติ และถี่เกินไป
ปริมาณเลือดลดลง
จึงเพิ่มอัตราสูบฉีดเลือดเร็วขึ้น
กระตุ้นระดับความเครียด
เกิดการปลดปล่อยฮอร์โมนความเครียดอย่างผิดปกติ
แบ่งความรุนแรงของกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดตาม
Canadian Society(CCS)
Class I
เจ็บหน้าอกเมือเร่งรีบหรือ ทำงานหนัก
ถ้าเดินหรือขึ้นบันไดจะไม่มีอาการ
Class II
เจ็บหน้าอกเวลาเดินไกลหรือขึ้นบันไดมากกว่า 1 ชั้น
ขึ้นเขาหรือทางลาดยางมีอาการหลังตื่นนอนตอนเช้า
Class III
มีอาการเมื่ออกแรงเพียงเล็กน้อย เช่น ขึ้นบันไดแค่ 1 ชั้น
Class IV
มีอาการบ่อยจนแทบจะทำกิจวัตรประจำวันไม่ได้
อาจมีอาการขณะนั่งพัก
VALVULAR HEART DISEASE
พบบ่อยจากการอักเสบ
Rheumatic Heart Disease
การติดเชื้อและกลุ่มdegenerativechange
พยาธิสภาพ
เกิด ังผืดจากแ ลเซียมหรือไขมันเกาะลิ้น/ส่วนประกอบลิ้น
อาการ
หน้ามืด เป็นลม เจ็บหน้าอก(เกิดร่วมกับCAD) murmur
thrill, apical heaving, atrial fibrillation, embolism
การตรวจพิเศษ
CXR, EKG, Echocardiography
การรักษา
Medical treatment (antibiotic, anticoagulant)
Percutaneous balloon mitral valvulomy (PBMV)
Surgical treatment
สาเหตุการเกิดโรค
โรคลิ้นหัวใจตีบ
โรคลิ้นหัวใจรั่ว
ANTICOAGULANT DRUGS
High Alert Drug
Heparin (Unfractionated)
Heparin, Low Molecular Weight (Innohep/Tinzaparin)
Heparin, Low Molecular Weight ( Clexane/Enoxaparin)
Heparin, Low Molecular Weight ( Arixtra/Fondaparinux)
WARFARIN
ออกฤทธิ์ต้านการแข็งตัวของเลือด
ป้องกันลิ่มเลือดอุดตันตามเส้นเลือดร่างกาย
สมอง ปอด ขา
ลิ้นหัวใจเทียม
ข้อบ่งใช้ที่สำคัญ
หลังผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
โรคลิ้นหัวใจรูมาติก
ประวัติเส้นเลือดสมอง/ปอด/แขน/ขา
อุดตันจากลิ่มเลือด การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ข้อควรปฏิบัติ
ห้ามเพิ่ม ลด หรือหยุดยาเองโดยที่แพทย์ไม่ได้สั่ง
ตรวจผล INR ทุก 1-3 เดือน หรือตามแพทย์สั่ง
สังเกตอาการเลือดออกผิดปกติและลิ่มเลือดอุดตันจากอวัยวะทุกระบบ
ระวังการเกิดอุบัติเหตุหรือการเกิดบาดแผล
หากลืมกินยาไม่เกิน12ชม.ให้กินทันที ถ้าเกิน12ชม.ให้ข้ามไป
CARDIAC TAMPONADE
ภาวะที่มีของเหลวปริมาณมากอยู่ในถุงเยื่อหุ้มหัวใจ
ทำให้มีการเพิ่มขึ้นของแรงดันในถุงเยื่อหุ้มหัวใจและกดเบียดหัวใจ
หัวใจไม่สามารถขยายได้อย่างปกติ
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายลดลง
สาเหตุ
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบจากติดเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้อไวรัส
มีบาดแผลบริเวณหัวใจ หรือได้รับบาดเจ็บจากการกระแทก
การผ่าตัดหัวใจและหลอดเลือดหัวใจ
ทำการฉายรังสีบริเวณหน้าอก
การตรวจวินิจฉัย
Echocardiogram
การสวนหัวใจข้างขวา
X- Ray หน้าอก
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์(CT Scan)
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiography)
Magnetic Resonance Angiogram (MRA)
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหัวใจล้มเหลว
น้ าท่วมปอด
เส้นเลือดแดงใหญ่ฉีกขาด
เกิดความเสียหายบริเวณเส้นเลือด
การติดเชื้อ
เกิดอาการช็อค
การรักษา
การรักษาอย่างเร่งด่วน
เพื่อลดแรงดันรอบบริเวณหัวใจและรักษาอาการที่เกี่ยวข้อง
การเจาะดูดเอาของเหลวออกจากช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
ผ่าตัดเปิดช่องทรวงอกเพื่อถ่ายเทเลือดหรือเอาลิ่มเลือดอุดตันออก
การตัดเยื่อบุหัวใจเพื่อลดแรงดันภายในหัวใจ
ขณะรักษา อาจให้ออกซิเจน สารน้ า หรือยาเพื่อช่วยเพิ่มความดันโลหิต
อาการคงที่ อาจมีการตรวจเพิ่มเติม เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง
Infective endocarditis
การติดเชื้อที่ผนังหัวใจ ลิ้นหัวใจ หรือลิ้นหัวใจเทียม
พบในผู้ป่วยที่มีโรคหัวใจอยู่ก่อน
โรคลิ้นหัวใจ
หลังผ่าตัดมีลิ้นหัวใจเทียม
หัวใจพิการแต่กำเนิด
พยาธิสภาพ
damaged endothelium มี platelet&fibrin
เกาะเกิด thrombus ต่อมามีbacteremia
จากสาเหตุใดก็ตาม bacteria จะมาเกาะเกิด infected vegetation
อาการแสดง
มีไข้ ไข้สูง หนาวสั่น ปวดเมื่อยตามตัว
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด เพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหลัง
ปวดตามข้อ มี murmur, sepsis, CHF, embolism ลิ้นหัวใจตีบ/รั่ว
การตรวจพิเศษ CXR, CT, MRI, Echocardiography
การรักษา
Medical treatment (Proper antibiotic, Support treatment)
Surgical treatment