Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Sepsis , Pneumonia - Coggle Diagram
Sepsis
-
-
-
ส่งผลให้เกิดปอดบวมเพราะเมื่อผู้ป่วยเกิดการติดเชื้อจะทำให้ภูมิคุ้มกันต่ำลงเมื่อเวลาหายใจจึงมีการสูดสำลักเชื้อโรคเข้าไปได้ง่ายแล้วแพร่กระจายไปยังถุงลม ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันพยายามจะกำจัดเชื้อโรค ค่า Lymphocyte ต่ำเกิดจากการที่ร่างกายได้รับเชื้อไวรัสมากขึ้นเพราะ การสำลักเชื้อที่สะสมรวมกลุ่มอยู่บริเวณทางเดินหายใจส่วนบนลงไปสู่เนื้อปอด เช่น สำลักน้ำลาย อาหาร หรือสารคัดหลั่งในทางเดินอาหาร หากในระยะนี้ผู้ป่วยมีร่างกายอ่อนแอ มีการติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนหรือมีโรคเรื้อรังร่วมด้วย ก็จะทำให้เกิดปอดอักเสบได้
การหายใจเอาเชื้อเข้าสู่ปอดโดยตรง การสูดหายใจเอาเชื้อที่อยู่ในอากาศในรูปละอองฝอยขนาดเล็ก เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะปอดอักเสบจากกลุ่มเชื้อไวรัส เชื้อวัณโรค และเชื้อรา
-
-
-
สาเหตุ
ทฤษฎี
เกิดจากการติดเชื้อโรคของระบบทางเดินหายใจ ตั้งแต่จมูก คอ หลอดลมไปจนถึงปอด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่จากเชื้อไวรัส ได้แก่ โรคหวัด ไข้หวัดใหญ่ ไข้หวัดนก และซาร์ส เป็นต้น การติดเชื้อจากแบคทีเรีย ได้แก่ ปอดบวม และวัณโรค เป็นต้น โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ที่เกิดขึ้นได้บ่อยทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ บางคนอาจเป็นปีละหลายครั้ง เช่น โรคหวัด สามารถหายได้เองโดยการดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกต้อง
กรณีศึกษา
ติดเชื้อจากการนอนติดเตียงนานๆ แล้วมีภาวะกลืนลำบาก มีความเสี่ยงต่อการลำลักในขณะรับประทานอาหารซึ่งทำให้เกิดการอุดตันทางเดินหายใจจึงเกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจ
พยาธิสภาพ
ภาวะ Sepsis เป็นผลจากภาวะการติดเชื้อที่เกิดจากกระบวนการอักเสบที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรงและต่อเนื่องในระยะแรกร่างกายจะอยู่ในภาวะ hypodynamic state โดยจะมีการขยายตัวของหลอดเลือดส่วนกลางทำให้ร่างกายขาดน้ำที่่จะทำให้ระบบไหลเวียนเลือดนำไปสูบฉีดจึงทำให้หัวใจทำงานแย่ลงเป็นผลจาก Cytokines ที่ถูกหลั่งออกจากเม็ดเลือดขาวและกระบวนการอักเสบที่มีอยู่ทำให้ปริมาณออกซิเจนที่ถูกขนส่งไปยังเนื้อเยื่อต่างๆลดลง
การรักษา
1.ดูแล on Highflow nasal canula 40-45 L/min
2.ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ Clindamycin 600 mg IV ทุก 8 ชั่วโมง
3.Vitamin K 10 mg IV q weekly
Pneumonia
ภาวะแทกซ้อน
น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural effusion) เกิดจากการอักเสบของเนื้อปอดลามออกมาถึงเยื่อหุ้มปอด จำนวนน้ำมีได้ตั้งแต่เล็กน้อยจนถึงขนาดมาก ถ้ามีไม่มากก็อาจหายเองได้ ในรายที่มีจำนวนมากจนทำให้เกิดอาการหอบจะต้องทำการรักษาโดยการเจาะดูดเอาน้ำออก
-
ปอดแตกและมีลมในช่องปอด (pneumothorax )มักเกิดจากการติดเชื้อที่รุนแรง ผู้ป่วยจะแน่นหน้าอกและหายใจหอบเหนื่อย
-
-
-
สาเหตุ
ทฤษฎี
สาเหตุจากเชื้อแบคที่เรีย เชื้อแบคทีเรียที่พบว่าเป็นสาเหตุส่วนใหญ่ได้แก่ Streptococcus Pneumoniae ส่วนใหญ่จะพบในเด็กโต HaemophilusInfluenza type B พบในผู้ป่วยอายุ0 - 5 ปี
- โรคปอดอักเสบในผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังอื่นๆมาก่อนผู้ป่วยที่ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน หรือเป็นโรคเอคส์ อาจเกิดจากเชื้อPneumocystis Carini แบคที่เรียแกรมลบรูปแท่ง หรือเชื้อฉวยโอกาสอื่นๆ
ผู้ป่วยที่มีโรคซึ่งทำให้สำลักง่าย เช่น มีความผิดปกดิทางสมอง หรือมีความปกติในการกลืนทำให้กิดโรคปอดอักเสบที่กิดจากการสำลักเข้าปอดได้ง่าย ซึ่งมักเกิดจากเชื้อ Anaerobes
1.สาเหตุจากเชื้อไวรัส พบได้ใบทุกอายุ มักมีประวัติสัมผัสกับบุคคลในครอบครัวหรือเพื่อนที่มีอาการติดเชื้อในระบบหายใจ มีอาการหวัด หรือปวดเมื่อยตามตัวมาก่อน
กรณีศึกษา
เกิดจากการที่ผู้ป่วยมีการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบนทำให้ร่างกายมีภูมิต้านทานต่ำลงและจากการที่ผู้ป่วยนอนติดเตียงหลังได้รับการผ่าตัดทำให้หายใจเข้าไม่เต็มที่จึงทำให้เกิดปอดบวม
อาการและอาการแสดง
-
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีอาการหายใจหอบเหนื่อย ไอและมีเสมหะ ไข้สูง อุณภูมิ 38.2 องศาเซลเซียส ชีพจรเต้นเร็ว 106 ครั้งต่อนาที
-
การรักษา
-
1.สำหรับผู้ป่วยที่เริ่มเป็น ยังไม่มีอาการหอบ ให้ดื่มน้ำมากๆ ใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดตัวเวลามีไข้สูง ให้ยาลดไข้และให้ยาปฏิชีวนะ ถ้าอาการดีขึ้นใน 3 วัน ควรให้ยาปฏิชีวนะต่อไปอีก 1 สัปดาห์ แต่ถ้าไม่ดีขึ้นหรือกลับมีอาการหอบควรแนะนำไปโรงพยาบาล
2.ถ้ามีอาการหอบ หรือสงสัยว่ามีอาการแทรกซ้อนอื่นๆ รีบให้ยาปฏิชีวนะ แล้วส่งโรงพยาบาลโดยด่วน หากรักษาไม่ทัน อาจเสียชีวิตได้ ถ้าทีภาวะขาดน้ำ ควรให้น้ำเกลือระหว่างเดินทางไปด้วย การรักษามักจะต้องทำการตรวจโดยเอกซเรย์ปอด ตรวจเสมหะหาเชื้อที่เป็นสาเหตุ หรือเจาะเลือดไปเพาะเชื้อและให้การรักษาโดยให้ออกซิเจน น้ำเกลือ และยาปฏิชีวนะ ซึ่งอาจให้เพนิซิลินฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือเส้นเลือดในขนาดสูงๆ หรือยาปฏิชีวนะตัวอื่นๆ ตามแต่ชนิดของเชื้อที่พบ
พยาธิสภาพ
เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ปอดจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะมีปฏิกิริยาตอบสนอง มีเลือดมาคั่งในบริเวณที่อักเสบ หลอดเลือดขยายตัว มีแบคทีเรีย Hemoglobin fibrin และ white blood cell มาทำลายแบคทีเรีย ระยะนี้ใช้เวลา 24-46 ชั่วโมง หลังจากเชื้อเข้าสู่ปอด
ผล sputum Gram stain
Few Leukocyte
Moderate Epithelial cell
Moderate gram negative coccobacilli Moderate gram positive bacilli
-