Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบภูมิคุ้มกัน ของร่างกาย, ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย -…
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบภูมิคุ้มกัน
ของร่างกาย
ระบบภูมิคุ้มกัน ทําหน้าที่ป้องกันร่างกายจากเชื้อจุลชีพ และสิ่งแปลกปลอม ความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันโรคต้านตนเอง
เกิด graft rejection
หรือ graft versus host disease
ที่เป็น specific immune response
ความหมายของยาปรับภูมิคุ้มกัน
เป็นยาที่ใช้ป้องกันการทําลายภูมิคุ้มกันที่ร่างกายไม่ต้องการให้เกิดขึ้น
ยาที่มีผลกดภูมิคุ้มกัน
Cyclosporine A
นํามาใช้กดภูมิคุ้มกันในการปลูกถ่ายอวัยวะ เพื่อป้องกันการปฎิเสธสิ่งปลูกถ่ายให้ผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ
ใช้รักษาเยื่อตาขาวอักเสบจากภาวะตาแห้ง
โรคทางผิวหนัง
เช่น โรคสะเก็ดเงิน
โรคจากภูมิคุ้มกันผิดปกติ
เช่น โรคข้อรูมาตอยด์
ผลข้างเคียง
อาการสั่น
ความดันโลหิตสูง
ใจสั่น
ภาวะโคเลสเตอรอลในเลือดสูง
ผลข้างเคียงของยามีพิษต่อไต อาจทําให้ระดับของนํ้าตาล ความดัน ไขมันในเลือดสูงขึ้น
ไม่มีผลกดการทํางานของไขกระดูก จึงเกิดการติดเชื้อได้น้อยที่สุดเมื่อต้องให้เป็นเวลานาน
Azathioprine
มีฤทธิ์ในการกดภูมิคุ้มกัน และต้านการอักเสบ
ผลข้างเคียง
การกดการทํางานของไขกระดูก เกิดภาวะเม็ดเลือดขาวตํ่า คลื่นไส้ อาเจียน
เมื่อให้ยาในขนาดสูง
มีผลต่อตับ เกิดการติดเชื้อได้สูง
ข้อห้ามใช้
แพ้ยา Azathioprine
ภาวะตั้งครรภ์
ข้อควรระวัง
ผู้ป่วยที่ใช้ยานี้มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
ที่รุนแรง
ผู้หญิงที่อยู่ในช่วงวัยเจริญพันธุ์ ไม่ควรตั้งครรภ์ระหว่างที่ใช้งาน
อาการไม่พึงประสงค์
เม็ดเลือดขาวตํ่า
คลื่นไส้ อาเจียน
เบื่ออาหาร
ความดันโลหิตตํ่า
เกิดผื่น
วัคซีน
สารประกอบที่ได้จากเชื้อโรคต่างๆ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย
เชื้อหมดฤทธิ์หรืออ่อนกําลังลงซึ่งไม่มีผลทําให้เกิดโรคขึ้น
สารที่มีคุณสมบัติในการป้องกันโรคทั้งของมนุษย์และสัตว์ ซึ่งมีแอนติบอดีเฉพาะโรค
การเตรียมเซรุ่มจากเลือดของผู้ป่วยหรือสัตว์ ที่ได้รับเชื้อแล้วสร้างภูมิคุ้มกันเฉพาะขึ้นในกระแสเลือด
บุคคลที่ควรได้รับการฉีดวัคซีน
ผู้ที่มีภูมิต้านทานตํ่าได้แก่ เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ
บุคคลากรทางการแพทย์
ผู้ที่จําเป็นต้องเดินทางไปยังบริเวณที่มีการระบาดของโรค
ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
The First Line of Defense
เป็นการป้องกันการรุกลํ้าจากสิ่งแปลกปลอมโดยผิวหนัง mucous membrane และยังมีการหลั่งสารออกมาช่วย
ทําหน้าที่อีกด้วยเช่น การหลั่งสารจากต่อมเหงื่อและต่อมไขมัน
การชําระล้างออกโดยนํ้าลาย นํ้าตา และ mucous
Lysosome สามารถย่อยผนังเซลล์ของแบคทีเรียได้หลายชนิด
Gastric mucous ในกระเพาะมีความเป็นกรดสูง สามารถทําลายแบคทีเรียได้ดี
The Second Line of Defense
Neutrophils
(60-70% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด)
มีช่วงชีวิตประมาณ 2-3 วัน มักจะสลายไปเมื่อทําลายสิ่งแปลกปลอม
Monocyte (5% ของเม็ดขาวทั้งหมด)
หลังจาก monocyte หลั่งสู่กระแสเลือดได้ 2-3 ชั่วโมง จะเคลื่อนเข้าสู่เนื้อเยื่อ และพัฒนาเป็น
เซลล์ macrophage มีช่วงชีวิตค่อนข้างยาว
Eosinophil
(1.5% ของเม็ดเลือดขาวทั้งหมด )
ทําหน้าที่ทําลายพยาธิขนาดใหญ่
Natural killer (NK cell) ทําหน้าที่ทําลาย virus-infected body cell โดยไปจับที่เยื่อเซลล์และทําให้เซลล์แตก
Antimicrobial protein
มีโปรตีนหลายหนิดทําหน้าที่ป้องกัน ทําลายสิ่งแปลกปลอมที่บุกรุกร่างกาย ซึ่งทําลายสิ่งแปลกปลอมโดยตรง หรือยับยั้งการสืบพันธุ์ได้แก่ Lysozyme, Complement system, interferons
Complement system ทําหน้าที่ย่อย microbes และเป็น chemokines ต่อ phagocytic cells
Interferon เป็นสารที่หลั่งจาก virus-infected cell ภายหลังจากที่เซลล์แตกออกจากนั้นจะแพร่ไปยังเซลล์ข้างเคียง เพื่อยับยั้งการ infect ของ virus ไปยังเซลล์ข้างเคียง จึงสามารถยับยั้งการเจริญของไวรัสได้
บริเวณที่เป็นแผลมีการขยายตัวของเส้นเลือด มีเลือดมาเลี้ยงมากเกิดการบวมแดง
The Third Line of Defense
Lymphocytes เป็นตัวการสําคัญในการทําลายสิ่งแปลกปลอมแบบจําเพาะ
Lymphocytes มี 2 ชนิดคือ B lymphocyte และ T lymphocyte ซึ่ง B หรือ T cell แต่ละเซลล์จะจําเพาะกับ Ag แต่ละตัวโดยมีขั้นตอนการคัดเลือกเพื่อเพิ่มจํานวน lymphocyte ที่เฉพาะต่อ Ag เรียกว่า Clonal selection
Immunological Memory
ในการเพิ่มจํานวนของ Lymphocyte ที่ถูกคัดเลือก หลังจากเผชิญกับ Ag เป็นครั้งแรก ใช้เวลานานประมาณ 10-17 วัน เรียกการตอบสนองในระยะแรกนี้ว่า primary immune response
ถ้าร่างกายมีการเผชิญกับ Ag เดิมอีกเป็นครั้งที่ 2
จะเกิดการตอบสนอง เรียกว่า secondary immune response ซึ่งจะใช้เวลาในการตอบสนองสั้นลงเพียง 2-7 วัน
บทบาทของ Helper T cell และ CD4
Antigen presenting cell (APC) กินแบคทีเรีย
และขนส่งชิ้นส่วนของแบคทีเรียมาที่ผิวเซลล์
ผ่าน class II MHC
Activated TH จับกับ MHC-antigen complex โดยมี CD4 interleukin-1 มาช่วย
Activated TH แบ่งตัวเพิ่มจํานวนและหลั่ง cytokine
cytokine กระตุ้น TH, B cell,Tc cell
บทบาทของ Cytotoxic
T cell และ CD8
Infected cell (cancer cell) ขนส่งชิ้นส่วนของ Ag มาที่ผิวเซลล์ผ่าน class I MHC activated Tc จับกับ MHC-antigen complex โดยมี CD8 interleukin-2 มาช่วย
Activated Tc หลั่ง perforin ทําให้เกิดรูที่เยื่อเซลล์ของ infected cell
นํ้าและอิออนเคลื่อนเข้าเซลล์ เซลล์บวม และแตก
Active and Passive Immunity
Active immunity
การที่เราได้รับเชื้อเข้าไปแล้วร่างกาย
สร้าง Ab มาทําลาย ขณะเดียวกันก็เก็บ memory cell ไว้โดยเชื้อที่ได้รับเข้าไปอาจเป็นเชื้อโรคธรรมชาติ หรือโดยการฉีดเชื้อ
ที่อ่อนกําลังแต่ยังมี epitope เข้าร่างกาย
Passive immunity ร่างกายได้รับ Ab ของเชื้อนั้นโดยตรง ซึ่ง Ab ที่ได้
จะคงอยู่ในร่างกายเป็นระยะเวลาสั้นๆ
เช่น Abต่อพิษงู, พิษสุนัขบ้า