Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Insulin and oral hyperglycemic drugs - Coggle Diagram
Insulin and oral hyperglycemic drugs
โรคเบาหวาน
หลักการรักษาโรคเบาหวาน
อาการแสดงทางคลินิก
ประวัติครอบครัวและพันธุกรรม
ผลตรวจทางห้องปัฏิบัติการ
อาการแสดง
กระหายน้ำ
ปัสสาวะบ่อย
กินอาหารมากกว่าปกติ
น้ำหนักลดลง
แบ่งได้ 3 ชนิด
Insulin dependent diabetes mellitus (IDDM)
Non-Insulin dependent diabetes (NIDDM)
Gestational Diabetes
การรักษาโรคเบาหวาน
ควบคุมอาหาร
ออกกำลังกาย
การใช้ยาลดน้ำตาล
การใช้Insulin
เบาหวานชนิด Type I และ II diabetes ยังไม่สามารถรักษาหายขาดได้
Insulin
กลไกการทำงานของ Insulin
นำส่ง Glucose จากนอก cell เข้าสู่ใน cell
เพิ่มฤทธิ์การเก็สรอาหารไชมันและ glucose ไว้ใช้เป็นพลังงาน
เกิดการเจริญและเพ่ิมระดับ Metabolism ต่างๆใน cell
มีผลต่อ
ตับ
กล้ามเนื้อลาย
เนื้อเยื่อไขมัน
รูปแบบเภสัชภัณฑ์
Ultra short
Short acting
Intermediate acting
Long acting insulin
Combination
การบริหารยา
ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ (IV)
ในกรณีสภาวะฉุกเฉินจะใช้ Insulin short acting / regular insulin
ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง (SC)
ใช้ฉีด Insulin ทุกชนิด
ตำแหน่งที่ฉีด
หน้าท้อง
หน้าขา
ท้องแขนหลัง
สะโพก
อาการไม่พึงประสงค์
Hypoglycemia
Local skin reaction
Lipohyperteophy
Oral hypoglycemia agents
Insulinotropic agent
Sulfonylureas
กลไกการออกฤทธิ์
กระตุ้นการหลั่ง Insulin
ละระดับ glucagon ในเลือด
เสริมฤทธิ์ insulin ต่อ target tissue
อาการไม่พึงประสงค์
หน้ามืด
ตาลาย
ใจสั่น
มือสั่น
น้ำหนักเพิ่ม
คลื่นไส้
ท้องอืด
ข้อห้ามใช้
ผู้ป่วย DM Type I ที่ตั้งครรถ์หรือให้นมบุตร
ภาวะติดเชื้อรุนแรงหรืออยู่ในระหว่างผ่าัด
มีประวัติแพ้ยา sulfonylureas
ภาวะตับไตรุนแรง
Insulin sensitizr
Biguanide
อาการไม่พึงประสงค์
anorexia, N/V, discomfort diarrhea
ทำให้ระดับ vitamin B12 and folate ในเลือดลดลง
เสี่ยงต่อการเกิด lactic acidosis ในผู้ป่วยสูงอายุ
ข้อห้ามใช้
ผู้ป่วยโรคไตและตับผิดปกติ
โรคพิษสุราเรื้อรัง
ตั้งครรถ์
ภาวะติดเชื้อรุนแรงหรืออยู่ในระหว่างผ่าตัด
ภาวะโรคที่เกี่ยวต่อการนำส่งออกซิเจนเข้าเนื้อเยื่อได้ต่ำ
Alpha-glucosidase inhibitors
อาการข้างเคียง
ท้องอืด
ท้องเฟ้อ
ข้อห้ามใช้
ไม่ใช้ในรูป monotherapy
ผู้ป่วย Dm type I ผู้ป่วยที่ตั้งครรถ์หรือให้นมบุตร
มีภาวะทางเดินอาหารผิดปกติ
Thyroid & Antithyroid drugs
Thyroid disorders
Hyperthyroidism
การรักษา
รักษาด้วยยาต้านไทรอยด์
รักษาด้วยสารกัมมันตรังสีไอโอดีน
รักษาด้วยการผ่าตัด
Andrenergic Blockers
Thionamides
Iodides
Hypothyroidism
สาเหตุ
ต่อมไทรอยด์เสื่อมทำให้การสร้างและหลั่งฮอโมนลดลง
การขาด TSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าหรือ Hypothalamus ผิดปกติ
การผ่าตัดและการใช้ 131I รักษาภาวะ Hyperthyroid
ขาดสารไอโอดีน
ได้รับ goitrogen ในปริมาณมากไป
Physiologic goiter
ภาวะจากการขาด Thyroxine
Cretinism or Cogental Hypothyroidism
เกิดในเด็ก
อาการ
สมองด้อยลง
ร่างกายเตี้ยแคระ
แขน ขาสั้น
ผิวหยาบแห้ง
ผมบาง
การเจริญเติบโตช้า
ปัญญาอ่อน
Myxedema
เกิดในผู้ใหญ่
อาการ
เหนื่อง่าย
น้ำหนักเพิ่ม
ทนความหนาวไม่ได้
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ผมและผิวแห้งหยาบ
หัวใจโต
ซึม เฉื่อยชา
ความจำเสื่อม
Euthyroid
ภาวะที่ต่อมไทรอยด์โตขึ้นจากการทำงานมากกว่าปกติ
จะพบต่อมไทรอด์ใหญ่จนเป็นคอพอก
มักพบในหญิงสาววัยรุ่นหรือหญิงตั้งครรถ์
สาเหตุไม่แน่ชัด
Oxytocin and Contraceptive
Oxytocin
ประโยชน์ในการรักษา
Efficacy
ลดอัตราการผ่าตัดคลอดบุตร
ชักนำการคลอด
ลดระยะเวลาในการคลอดบุตร
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะถูกชักนำมากเกินไป
ภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ
ภาวะความดันโลหิตต่ำ
Contraceptics
การคุมกำเนิดชั่วคราว
วิธีอื่น
หมวกยางสอดช่องคลอด
ถุงยาอนามัย
นับวันหรือระยะปลอดภัย
ยาฆ่าเชื้ออสุจิ
ฮอร์โมนคุมกำเนิด
ยาฝังคุมกำเนิด
ชนิดไม่สลายตัว
ชนิดสลายตัว
ยาเม็ดคุมกำเนิด
ใช่ในการรักษาภาวะผิดปกติทางสูติ-นรีเวช
รักษาอาการปวดประจำเดือน
ใช้เลื่อนประจำเดือนแบบชั่วครว
ใช้ในการหย่านมบุตร
ใช้รักษาโรค Endometriosis
ยาฉีดคุมกำเนิด
Norethindrone enanthate
Medroxyprogesterone acetate 150 mg/3 ml
ห่วงอนามัย
ห่วงอนามัยธรรมดา
ห่วงอนามัยชนิดที่มีสารส่งเสริม
การคุมกำเนิดภาวร
การทำหมันหญิง
ทำให้ปีกมดลูกทั้งสองข้างตีบตันด้วยการตัดและผูกท่อนำไข่
การทำหมันชาย
การทำให้หลอดน้ำเชื้อทั้งสองข้างตีบตีนด้วยการผูก ตัด หนีบ หรือจี้ด้วยกระแสไฟฟ้า