Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Insulin and oral hyperglycemic drug, Oxytocin and Contraceptive drug,…
Insulin and oral hyperglycemic drug
โรคเบาหวาน
หลักการวินิจฉัยและรักษาโรคเบาหวาน
ผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Fasting Blood Sugar (FPG)
Oral glucose tolerance
งดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
เจาะหลังอดอาหารอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
อาการแสดงทางคลินิก
ประวัติครอบครัวและพันธุกรรม
ความผิดปกติของการ metabolism โดยระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
อาการแสดงสําคัญ
กินอาหารมากกว่าปกติ
กระหายนํ้า
ปัสสาวะบ่อย
นํ้าหนักลดลง
ยาฉีด Insulin
กลไกการทํางานของ Insulin
เกิดการนําส่ง glucose จากนอก cell เข้าสู่ cell
เกิดการเจริญและการเพิ่มระดับ metabolism ต่างๆ ใน cell
ฮอร์โมนสร้างจาก beta-cell ใน IsIet of Langerhans ของตับอ่อน
โครงสร้างเป็นสายโพลีเป็ปไทด์ 2 สาย คือ A-chain และ B-chain เชื่อมติดกันด้วยพันธะ disulfide bond
การเก็บยาฉีด Insulin
พกพายาฉีด Insulin ได้โดยไม่ต้องแช่นํ้าแข็ง
สามารถตั้งทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้องได้นาน 45 วัน
เก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 4-8 C ได้นาน 6 เดือน
Oral hypoglycemic agents
Sulfonylureas
กลไกการออกฤทธิ์
ลดระดับ glucagon ในเลือด
กระตุ้นการหลั่ง insulin จาก beta-cell
อาการไม่พึงประสงค์
ภาวะนํ้าตาลในเลือดตํ่า
หน้ามืด
ตาลาย
Biguanide
ข้อห้ามใช้
ตั้งครรภ์
โรคพิษสุราเรื้อรัง
ผู้ป่วยโรคไตและตับผิดปกติ
เป็น guanidine derivative
ได้แก่ metformin
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งกระบวนการ hepatic gluconeogenesis
กระตุ้นกระบวนการ glycolysis โดยตรง
ลดระดับ glucagon hormone ในเลือด
อาการ
อาจทําให้ระดับ vitamin B12 และ folate ในเลือดลดลง
อาจเสี่ยงต่อการเกิด lactic acidosis
Alpha-glucosidase inhibitor
ข้อห้ามใช้
ทางเดินอาหารผิดปกติ
ไม่ใช้ในรูป monotheraphy
การออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ปิดกั้นการทํางานของ Alpha-glucosidase
โครงสร้างคล้ายโมเลกุลเล็ก
ร่างกายดูดซึมนํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยวๆ เข้ากระแสเลือดช้าลง
อาการข้างเคียง
ท้องอืด-ท้องเฟ้อจากนํ้าตาลไม่ถูกดูดซึมเข้าร่างกาย
Non-Sulfonylurea (Meglitinide)
การออกฤทธิ์
ใช้ในผู้ป่วยที่เพิ่งได้รับ diagnosis DM
เพิ่มการหลั่ง insulin จาก beta-cell โดยยับยั้ง ATP K channel
การใช้ยาจะให้ยาพร้อมกับอาหาร
อาการข้างเคียงและข้อห้ามใช้
hypoglycemic
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยโรคตับ
มีภาวะเครียดและ diabetes ketoacidosis
Oxytocin and Contraceptive drug
การคุมกําเนิดและยาคุมกําเนิด
การคุมกําเนิด
การคุมกําเนิดถาวร
การทําหมันผู้หญิง โดยการทําให้ปีกมดลูกทั้ง 2 ข้างตีบตันด้วยการตัดและผูกท่อนําไข่
การทําหมันผู้ชาย เป็นการทําให้หลอดนํ้าเชื้อทั้ง 2 ข้างตีบตัน โดยการผูก ตัด หนีบ หรือจี้ด้วยกระแสไฟฟ้า
ฮอร์โมนคุมกําเนิด
ยาฉีดคุมกําเนิด
ยาฝังคุมกําเนิด
ห่วงอนามัย
ยาเม็ดคุมกําเนิด
การคุมกําเนิดแบบชั่วคราววิธีอื่นๆ
กลไกการออกฤทธิ์
ทําให้มูกปากมดลูกเหนียวข้น อสุจิผ่านได้ยากขึ้น
ทําให้เยื่อบุโพรงมดลูกฝ่อบาง
ไม่เหมาะสมสําหรับการฝังตัวของตัวอ่อน
มีฤทธิ์ระงับการตกไข่ประมาณร้อยละ 40-50 ของผู้ใช้ยังมีการตกไข่เป็นปกติ
ถุงยางอนามัย
ยาฆ่าเชื้อ
หมวกยางสอดช่องคลอด
วิธีนับวันหรือระยะปลอดภัย
วิธีที่นิยม มีประสิทธิภาพคือ
การใช้ฮอร์โมนคุมกําเนิดแบบ
ชั่วคราว
อาการจากการใช้ยาคุมกําเนิด
การใช้ยาคุมกําเนิดชนิดฮอร์โมนรวมที่มีขนาดสูง ทําให้เกิดโรคความดันโลหิตสูงประมาณ 4-5%
Estrogen มีฤทธิ์ต่อการเติบโตของเนื้อเยื่ออาจมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็ง
คลื่นไส้อาเจียน
ปวดศีรษะไมเกรน
ถ้าใช้ยาคุมกําเนิดเป็นเวลานาน อาจมีภาวะประจําเดือนขาดหายไป
ข้อควรระวัง
สตรีที่ปวดศีรษะไมเกรน
โรคความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ยาฝังคุมกําเนิด
ห่วงอนามัย
กลไกการออกฤทธิ์
ฮอร์โมนที่ออกจากห่วงอนามัย ทําให้มีการเปลี่ยนแปลงเยื่อบุมดลูก ทําให้เนื้อเยื่อและต่อมฝ่อลงหรือสารทองแดงทําให้เกิดปฎิกิริยาต่อสิ่งแปลกปลอมที่เยื่อบุโพรงมดลูก
ทําให้ไข่ที่ผสมแล้วไม่สามารถฝังตัวได้
การเปลี่ยนแปลงในโพรงมดลูก ทําให้ขีดความสามารถของอสุจิไม่สามารถผ่านไปผสมกับไข่ได้
ชนิดของห่วงอนามัย
ห่วงอนามัยธรรมดา ไม่มีการส่งเสริมประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์
ห่วงอนามัยชนิดที่มีสารเสริมประสิทธิภาพการป้องกันการตั้งครรภ์
ห่วงอนามัยฮอร์โมนมี progestin
ห่วงอนามัยทองแดง มีสารทองแดงประกอบ
ยาฝังคุมกําเนิด
ยาคุมกําเนิดชั่วคราว เป็นฮอร์โมนสังเคราะห์ progesterone นํามาใช้ในลักษณะเป็นผงบรรจุในหลอด silastic
นํามาฝังใต้ผิวหนัง
ป้องกันการตั้งครรภ์1-5 ปีขึ้นกับชนิดของยา
ยาเม็ดคุมกําเนิด
ประโยชน์
รักษาอาการปวดประจําเดือน
ใช้ในการคุมกําเนิด
ใช้ในการหย่านมบุตร
ยาคุมกําเนิดชนิด sequential preparation
ยาชนิดนี้ 14 เม็ดแรกจะเป็น estrogen อย่างเดียว อีก 7 เม็ดหลังจะเป็นestrogen+progestin
ยาชนิด Minipil
เหมาะสําหรับใช้ในผู้หญิงที่ให้นมบุตรเพราะไม่ลดปริมาณนํ้านม
ทําให้ประจําเดือนมาน้อยหรือไม่มาเลย
ประสิทธิภาพโดยรวมตํ่ากว่า combined pills ยับยั้งไข่ตกได้ไม่ดี
ยาคุมกําเนิดหลังร่วมเพศ
ไม่ควรรับประทานเกิน 4 เม็ด
(2 กล่อง/เดือน)
รับประทานยาเม็ดแรกให้เร็วที่สุด หลังจากมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกันโดยไม่ควรเกิน 72 ชั่วโมง
รับประทานเม็ดที่ 2 หลังจากรับประทานยาเม็ดแรก
ไม่เกิน 12 ชั่วโมง หรือรับประทาน 2 เม็ดพร้อมกันในครั้งเดียว
Oxytocin
ประโยชน์ในการรักษา
ประสิทธิภาพ
ชักนําการคลอด
ลดระยะเวลาในการคลอดบุตร
ลดอัตราการผ่าตัดคลอดบุตร
ฮอร์โมนที่สร้างและหลั่งจาก hypothalamus แล้วถูกส่งมาเก็บที่ปลายประสาทบริเวณต่อมใต้สมองส่วนหน้า
ถูกชักนําให้มีการหลั่งเมื่อมีการ
กระตุ้นที่หัวนม การให้นมบุตร และการกระตุ้นที่ช่องคลอด
หรือปากมดลูก
เมื่ออายุครรภ์ดําเนินไป จํานวน oxytocin receptor ในมดลูกจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเพิ่มขึ้น 300 เท่า เมื่อเริ่มเจ็บครรภ์
ฤทธิ์ของ Oxytocin
กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบของมดลูกให้หดตัวแรงและถี่
ถ้าขนาดสูงจะทําให้หลอดเลือดคลายตัวและต้านการขับปัสสาวะ
การติดตามภาวะแทรกซ้อน
ภาวะความดันโลหิตตํ่า
ภาวะมดลูกถูกชักนํามากเกินไป
ภาวะโซเดียมในเลือดตํ่า
Thyroid-Antithyroid drugs
Antithyroid drugs
Thionamides
ยาที่ใช้คือ propylthiouracil, carbimazole, methimazole
การออกฤทธิ์
ลดการสังเคราะห์ thyroid hormone โดยยับยั้ง thyroid peroxidase
การปิดกั้น Iodine organification และการรวมตัวของ Iodotyrosines
ยากลุ่ม Thioamides ผ่านทางรกได้ จึงต้องระวังการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์
การตรวจสอบประสิทธิภาพ
การตรวจระดับ FT3, TSH หลังจากให้ยา 2 เดือน
แนะนําให้ยาจนครบ 2 ปี และตรวจระดับ FT3, FT4 ก่อนหยุดยาเพื่อยืนยันว่าอยู่ในภาวะ Euthyroid
Thyroid gland
เป็นอวัยวะภายในที่มีบทบาทในการสร้างและหลั่งสาร thyroid hormone
ถูกสร้างจากสาร Iodine โดยการดูดซึม Iodide จากอาหาร นํ้า และยาที่ทาน
หน้าที่
การควบคุมการเจริญเติบโต
และพัฒนาการต่างๆ ของร่างกาย
การควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้เป็นปกติ และการใช้พลังงานของร่างกาย
การควบคุมการทํางาน
การสร้างและหลั่ง thyroid hormone สูงขึ้น
กระตุ้นการสร้าง thyroglobulin
กระตุ้นกระบวนการ oxidation
และเติม I2
โรค
Hyperthyroidism
Grave's disease
โรค autoimmune ที่ร่างกายสร้าง immunoglubulin มาเกาะกัยต่อมไทรอยด์
กระตุ้นให้เกิดการหลั่ง thyroid hormoneมาก โดยไม่ขึ้นกับการควบคุมของ TSH
การรักษา
รักษาด้วยยาต้านไทรอยด์
รักษาด้วยสารกัมมันตรังสีไอโอดีน
รักษาด้วยการผ่าตัด
Hypothyroidism
Euthyroid
Hypothyroidism
สาเหตุของโรค
การรักษา
Sodium Levothyroxine
กระตุ้น metabolism ทําให้ BMR เพิ่มขึ้น
มีการสร้างโปรตีนเพิ่มขึ้น และเพิ่มการนํา glycogen store ไปใช้
ใช้รักษา chronic lymphocytic thyroiditis, myxedema coma
ให้ไอโอดีนทดแทนในรูปของอาหารเช่น ใช้เกลือที่มีไอโอดีนโดยให้มีไอโอดีนในอาหาร 100-150 ไมโครกรัม/วัน
ภาวะตั้งครรภ์ให้วิตามินรวมที่มีไอโอดีน 100 ไมโครกรัม/วัน ร่วมด้วย
ต่อมไทรอยด์เสื่อมทําให้การสร้างและหลั่งฮอร์โมนลดลง
การขาดTSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าหรือ hypothalamus ผิดปกติ
การผ่าตัดและการใช้ 131 I
รักษาภาวะ hyperthyroid
ขาดไอโอดีน
Physiology goiter
ความผิดปกติ
Thyroid hormone น้อยกว่าปกติ
ผู้ป่วยอาจมาด้วยต่อมไทรอยด์โตควรยืนยันโดยตรวจหน้าที่ของต่อมไทรอยด์ ซึ่งมีความไวและจําเพาะที่ดี
Radioactive Iodine
สาร 131 I เป็นกัมมันตภาพรังสี
ที่ใช้รักษา thyrotoxicosis
ประสิทธิภาพการแพร่กระจายรัศมี 400-2000 mcm
เป้าหมายของการรักษา
ทําลาย overactive thyroids cell โดยการให้ single dose 4000-8000 rads
ผู้ป่วย 60% มีภาวะ Euthyroid state ภายใน 6 เดือน