Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้, นางสาวเมธาวลัย …
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับประสาทสมองและการรับรู้
ความดันในกระโหลกศีรษะสูง
สาเหตุ
เป็นการเพิ่มปริมาตรของ
จำนวนเลือด
จากสาเหตุหลอดเลือดสมองขยายตัว
เนื่องจากเลือดในหลอดเลือดดำคั่ง
จากการขัดขวางการไหลเวียนกลับของหลอดเลือดดำจากสมองสู่หัวใจ
ทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองเพิ่มขึ้น
น้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
มี 2 ชนิด
ไม่มีการอุดตันการไหลเวียนของน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
น้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังมีเลือดปน
เม็ดเลือดไปอุดตาม arachnoid villi
ไม่สามารถดูดซึมน้ำกลับได้
มีการดูดซึมน้ำกลับเข้าสู่กระแสเลือด (เลือดอยู่ชั้น subarachnoid)
ส่งผลให้โพรงสมองมีน้ำมากขึ้น
มีการอุดตันการไหลเวียนของน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลัง
มีการดูดซึมกลับทาง arachnoid granulations น้อยลง
ทำให้ผลิตน้ำหล่อเลี้ยงสมองและไขสันหลังเพิมขึ้น
มีก้อนเนื้องอกที่บริเวณ choriod plexus
เนื้อสมอง
ได้แก่
สมองขาดเลือด
ภาวะสมองเคลื่อน
เนื้องอกในสมอง
ฝีในสมอง
สมองได้รับบาดเจ็บ
สมองบวม
การติดเชื้อในสมอง
สมองช้ำ
ก้อนเลือด
ปัจจัยส่งเสริมให้เกิด IICP สูงขึ้น
การได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
ภาวะเครียดจากอารมณ์หรือความเจ็บปวด
การดูดเสมหะที่ไม่มีประสิทธิภาพ
การเกร็งกล้ามเนื้อ อาการสั่น การจาม การไอ
การจัดท่านอนไม่ถูกต้อง
การควบคุมอุณหภูมิกายไม่ได้
กลไกการเกิด
กะโหลกศีรษะเป็นอวัยวะที่มีปริมาตรคงที่จำกัด
หากมีปริมาตรของส่วนใดส่วนหนึ่งเพิ่มขึ้น
จะทำให้กลไกการปรับตัวของสมองทำงาน
เมื่อมีความดันในกะโหลกศีรษะสูงขึ้น
การไหลเวียนของเลือดไปที่สมองลดลง
ทำให้เกิดการปรับตัวโดยหลอดเลือดมีการขยายตัว เพื่อเพิ่มการไหลเวียนเลือดไปสู่สมอง
ถ้าปริมาตรเพิ่มขึ้นตลอดเวลาเกินที่จะรักษาความสมดุลภายในสมองได้
1 more item...
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอน 30 องศา หลีกเลี่ยงการงอพับคอ
ประเมินสัญญาณชีพและระบบทางประสาททุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะเมื่อมี
ลดกิจกรรมที่ทำให้เกิดความดันในช่องอกและช่องท้องเพิ่มขึ้น
อาการ
อาเจียนพุ่ง
ปวดศรีษะ
Neuro signs change ระดับความรู้สึกตัวลดลงรูม่านตาขยายแขนขาอ่อนแรง
สัญญาณชีพเปลี่ยน
พิษสุนัขบ้า (Rabies)
พยาธิสภาพ
เมื่อถูกสัตว์กัดหรือหายใจเอาละอองน้ำลายที่มีไวรัสเรบีส์ (Rabies virus)
ไวรัสจะเริ่มแฝงตัวในเซลล์กล้ามเนื้อ
ลามเข้าไปในเส้นประสาทที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อ
มีการแฝงตัวและกระจายไปตาม axons
ทำให้เกิด CNS infections
และไวรัสแพร่กระจายไปที่อวัยวะอื่นๆ เช่น ต่อมน้ำลาย ต่อมหมวกไต และหัวใจ
การพยาบาล
2.ดูแลให้รับประทานยาปฏิชีวนะ (เพื่อลดการติดเชื้อแบคทีเรีย) ตามแผนการรักษาของแพทย์
3.ฉีดยาป้องกันบาดทะยัก
1.ดูแลรักษาบาดแผลตามลักษณะของแผลที่ถูกสัตว์กัด ใส่ยาฆ่าเชื้อ ปิดแผลด้วยผ้าก๊อซ และไม่เย็บแผลที่สัตว์กัดทันที
4.การฉีดยาป้องกันแก่ผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า
ตรวจสอบสัญญานชีพ
หากมีอาการกลัวน้ำ กลัวลม ดูแลรักษาไปตามอาการ เช่น ให้ยานอนหลับ ยาแก้ชัก ให้สารอาหารแบบน้ำเข้าทางหลอดเลือดดำ(เพราะผู้ป่วยจะรับประทานอาหารเองไม่ได้) และติดตามดูอาการ
อาการ
แบ่งเป็น 2 ระยะ
ระยะสุดท้าย – ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาการทางสมองและไขสันหลังอักเสบ กระสับกระส่าย กลัวแสงกลัวลม และไม่ชอบเสียงดัง
ระยะฟักตัว – คือระยะเวลาตั้งแต่ได้รับเชื้อเข้าสู่ร่างกายจนเริ่มแสดงอาการ โดยแต่ละคนจะมีระยะเวลาฟักตัวที่แตกต่างกันไป
จะแสดงหลังการได้รับเชื้อแล้วประมาณ 15 – 60 วัน แต่ในบางรายอาจใช้เวลาน้อยกว่า 10 วัน หรืออาจนานหลายปี ขึ้นอยู่กับปริมาณเชื้อและขนาดของบาดแผล รวมถึงภูมิต้านทานของผู้ได้รับเชื้อ
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเรบีส์ (Rabies virus) ผ่านการกัด ข่วน หรือสัมผัสน้ำลายผ่านทางตา ปาก หรือรอยแผล จากสัตว์ที่ป่วยหรือติดเชื้อ คนส่วนใหญ่มักติดเชื้อพิษสุนัขบ้าจากสุนัขและแมว แต่ยังสามารถพบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นๆ เช่น ค้างคาว ลิง กระรอก กระต่าย
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (MEningitis)
พยาธิสภาพ
มีการอักเสบของช่องใต้ชั้นอะแรคนอยด์ (subarachnoid space
โดยมีเม็ดเลือดขาวกลุ่ม โพลีย์มอร์ฟเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
น้ำในช่องใต้ชั้นอะแรคนอยด์กลายเป็นสีขุ่น
มีมากที่บริเวณผิวคอร์แทกซ์
แต่ถ้าไม่ได้รักษาจะกระจายไปทั่วช่องใต้ชั้นอะแรคนอยด์
บริเวณผิวของซีรีบรัมจะอักเสบและบวมขึ้น
สาเหตุ
แบ่งออกได้หลายชนิดตามสาเหตุ ได้แก่
เยื่อหุ้มสมองอักเสบเฉียบพลันชนิดมีหนอง
เชื้อโรคอาจแพร่กระจายจากแหล่งติดเชื้อที่ส่วนอื่นของร่างกาย เช่น ปอดอักเสบ คออักเสบ ผ่านกระแสเลือดมาที่เยื่อหุ้มสมอง
มักเกิดอาการเฉียบพลันทันทีและมีความรุนแรงเป็นอันตรายในเวลารวดเร็ว
เกิดจากเชื้อนิวโมดอกคัส สเตรปโตคอกคัส อีโคไล และเมนิงโกคอคกัส
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากวัณโรค
เกิดจากเชื้อวัณโรค
แพร่กระจายจากปอดหรือส่วนอื่นๆของร่างกายมาที่เชื่อหัมสมองโดยผ่านทางกระแสเลือด
อาการค่อยๆเกิดขึ้นอย่างช้าๆใช้เวลาเป็นสัปดาห์
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากไวรัส
เกิดจากเชื้อคางทูม เชื้อเอนเทอโรไวรัส
เชื้อโรคจะแพร่กระจายผ่านทางกระแสเลือด จะมีการอักเสบของสมองร่วมกับเยื่อหุ้มสมอง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากพยาธิ
พยาธิแองจิโอ พบมากทางภาคกลางและภาคอีสาน เป็นพยาธิที่มีอยู่ในหอยโข่ง
เกิดจากพยาธิตัวจี๊ดและพยาธิแองจิโอ
ผู้มีประวัติกินหอยโข่งดิบก่อนเกิดอาการประมาณ 1-2 เดือน
พยาธิจะเข้าไปกระเพาะ ลำไส้และไชเข้าสู่กระแสเลือดแล้วขึ้นไปที่สมอง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อรา
อาการค่อยๆเกิดอย่างช้าๆ
เชื้อเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจเข้าทางปอด ผ่านกระแสเลือด ไปที่เยื่อหุ้มสมอง
เกิดจากเชื้อคริปโตคอกคัส ซึ่งพบในอุจจาระของนกพิราบ ไก่ และพื้นดิน
อาการ
ขาแข็ง (Kernig’s sign)
มีไข้สูง หายใจเร็ว
คอแข็ง (Brudzinski sign)
ปวดท้องและท้องเสีย
เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
มือเท้าเย็น
ปวดศีรษะรุนแรงเป็นเวลานาน
สับสน งุนงง
เจ็บที่ข้อหรือกล้ามเนื้อ
รู้สึกไวต่อแสงจ้า
การพยาบาล
ประเมินและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท และบันทึกสัญญาณชีพ
เตรียมไม้กดลิ้นและอุปกรณ์การให้ออกซิเจนไว้ให้พร้อม
เพื่อใช้ในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการชัก
ดูแลให้ใด้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ และดูแลให้รับประทานอาหารที่เหมาะสม
จัดให้ผู้ป่วยนอนพัก จัดสิ่งแวคล้อมให้สงบ และอากาศถ่ายเทสะดวก
เพื่อป้องกันการกระตุ้นการชัก และยกไม้กั้นเตียงทุกครั้งเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะ และยากันชักตามแผนการรักษา
เปิดโอกาสและส่งสริมให้ครอบครัวสามารถดูแลผู้ป่วยขณะอยู่โรงพยาบาล
และนำไปปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยกลับบ้านได้
ประเมินอาการและสาเหตุการติดเชื้อของผู้ป่วย
เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลอย่างเหมาะสม
สมองอักเสบ (Encephalitis)
พยาธิสภาพ
เชื้อไวรัส เข้าสู่ระบบประสาทได้ 2 วิธี คือ
ผ่านทางกระแสเลือดหรือผ่านไปทางเซลล์ประสาท
โดยเข้าทาง endothelial cell ของ meningeal capillary choroid plexus
หลังจากนั้นเชื้อจะผ่านเข้าสู่น้ำไขสันหลังใน ventricle
แล้วจึงเข้าสู่สมอง
เมื่อเชื้อเข้าสู่สมอง เชื้อจะเพิ่มจำนวน
สมองจะบวม มีเลือดออกเป็นหย่อมๆ ในเนื้อสมองบริเวณที่อักเสบ
สาเหตุ
การติดเชื้อไวรัส
Dengue encephalitis
Japanese encephalitis virus
Varicella zoster virus
Herpes simplex virus type 1
การติดเชื้ออื่นๆ ที่ไม่ใช่ไวรัส
Bacteria
Mycobacterium tuberculosis
Cryptococcus neoformans
Rickettsia
Parasite
การพยาบาล
ประเมินและบันทึกอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท และบันทึกสัญญาณชีพ
เตรียมไม้กดลิ้นและอุปกรณ์การให้ออกซิเจนไว้ให้พร้อมเพื่อใช้ในขณะที่ผู้ป่วยมีอาการชัก
ดูแลให้ใด้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ และดูแลให้รับประทานอาหารที่เหมาะสม ตามแผนการรักษา
ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วยอย่างสม่ำเสมอโดยเฉพาะช่องปาก และผิวหนัง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะ และยากันชักตามแผนการรักษา
พลิกตะแคงตัวผู้ป่วยอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในปอด และป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ประเมินอาการและสาเหตุการติดเชื้อของผู้ป่วย
เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลอย่างเหมาะสม
หลังจากให้การพยาบาลเสร็จ ยกไม้กั้นเตียงทุกครั้งเพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ
อาการ
อาการทางระบบทั่วไป
มีไข้ ปวดศีรษะ อาจมีอาการปวดเมื่อยตามตัว คลื่นไส้ อาเจียน
มีอาการประมาณ 1-3 วัน ก่อนมีอาการทางระบบประสาท
อาการผิดปกติอื่นๆ ของสมองเฉพาะที่
อัมพาตครึ่งซีกการทำงานเส้นประสาทผิดปกติการเคลื่อนไหวผิดปกติ (Involuntary movement)
อาการทางระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง พบได้ตั้งแต่ซึมเล็กน้อย จนกระทั่งถึงอาการหมดสติ ภายในเวลา 24 - 72 ชั่วโมง อาการซัก มีอาการชัก แบบชักเกร็งกระตุกเฉพาะที่ อาการชักทั้งตัว หรือชักแบบต่อเนื่องได้
โรคบาดทะยัก(Tetanus)
อาการ
อาการมี 3 ระยะ
พิษเข้าสู่กระแสเลือด (Tetanotoxemia stage) พิษยังไม่จับ cell ประสาท
อาการทางระบบประสาท (Neurologic stage) เกร็ง 3 แบบ
แผลมีเชื้อบาดทะยัก (Wound bacterial stage) รักษาหายได้
สาเหตุ
Spore ของเชื้อพบได้ตามพื้นดิน ในลำไส้คน สัตว์ สามารถแพร่กระจายจากมูลสัตว์ได้เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล โดยเฉพาะแผลลึกที่อากาศเข้าไม่ถึง เช่น ตะปูตำ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Clostridium tetani (C. tetani) เจริญได้ดีในที่ที่ไม่มีออกซิเจน สปอร์ของเชื้ออยู่ได้นานถึง 1 1 ปีในสภาพไร้แสงและความร้อน เชื้อสามารถสร้าง Toxin ได้ 2 ชนิด Tetanolysin และ Tetanospasmin
การพยาบาล
แยกผู้ป่วยไว้ในห้องแยกที่เงียบสงบ ไม่มีเสียงรบกวน ระมัดระวังอย่าให้มีเสียงดังเพื่อหลีกเลี่ยงการกระตุ้นให้ผู้ป่วยชักเกร็งมากขึ้น
ดูแลให้ใด้รับ ยา สารน้ำทางหลอดเลือดดำ และดูแลให้รับประทานอาหารที่เหมาะสม ตามแผนการรักษา
หมั่นดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย และความสะอาดของร่างกาย โดยเฉพาะปากฟัน เพราะผู้ป่วยอ้าปากไม่ค่อยได้ จะทำให้ปากสกปรก และเป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรคมากขึ้น
4.ขณะที่ผู้ป่วยมีอาการชักเกร็ง ต้องระมัดระวังไม่ให้ผู้ป่วยตกเตียง ระวังการกัดลิ้นโดยใช้ mouth gag ใส่ไว้ สังเกตการหายใจขณะชัก ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ สังเกตอาการ ลักษณะ ระยะเวลาในการชัก
ตรวจสอบสัญญานชีพ และหมั่นดูดเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย เพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง จัดท่านอนโดยหันหน้าตะแคงศีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง เพื่อป้องกันการสำลัก
ดูแลทำความสะอาดแผลด้วยหลัก Aseptic technique
พยาธิสภาพ
C.Tetani เข้าสู่บาดแผล
Exotoxin : tetnolysin และ tetanospasmin
สู่กระแสโลหิต ระบบน้ำเหลือง และระบบประสาท
จับกับ cell ประสาททั้ง motor end plate , spinal cord , brain , sympathetic nervous system ขัดขวาง Neurotransmitters
กล้ามเนื้อหดรัดตัว เกร็ง (ชัก)
ฝีในสมอง
(Brain abscess)
สาเหตุ
การติดเชื้อจากการที่ได้รับเชื้อโดยตรง ส่วนมากจะมาจากอุบัติเหตุ หรือการผ่าตัดที่สมองและเกิดการติดเชื้อหลังจากที่ผ่าตัด
การติดเชื้อจากอวัยวะต่างๆ ที่ใกล้เคียงสมอง เช่น จาก หู ฟัน แผลที่ศีรษะและใบหน้า และมีเชื้อหลุดลอดเข้าสู่สมองจนเกิดฝีที่สมอง
การติดเชื้อเรื้อรังบริเวณอวัยวะใกล้กับศีรษะโดยเฉพาะการอักเสบติดเชื้อของหูและโพรงไซนัส
การติดเชื้อจากอวัยวะอื่น และลามเข้าสู่กระแสเลือดสุดท้ายแพร่มาที่สมองทำให้เกิดฝีที่สมอง
ผู้ที่ป่วยเป็นโรคติดเชื้อมในสมองอยู่แล้ว เช่น โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
พยาธิสภาพ
เกิดจากการติดเชื้อในบริเวณอื่นของร่างกาย หรือในอวัยวะใกล้เคียง
แล้วมีการแพร่กระจายมายังสมอง
เมื่อเชื้อเข้าสู่สมองจะเกิดการอักเสบของสมอง (cerebritis)
และพัฒนากลายเป็นฝีในที่สุด
การพยาบาล
ดูแลให้ใด้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ และดูแลให้รับประทานอาหารที่เหมาะสม ตามแผนการรักษา
ตรวจสอบสัญญานชีพ และอาการทางระบบประสาททุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะ ตามแผนการรักษา และคอยสังเกตอาการข้างเคียง
ดูแลให้ได้รับความสุขสบายทางร่างกาย เช่น นอนศีรษะสูง บรรเทาอาการปวดศีรษะ
ดูแลสุขวิทยาของช่องปาก ผิวหนัง การขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
ดูแลให้หายใจสะดวก ร่างกายได้รับออกซิเจนเพียงพอ จำเป็นต้องให้ O2 Cannula หรือ O2mask ตามลักษณะการขาดออกซิเจน
อาการ
อาการที่แสดงว่ามีการติดเชื้อในกะโหลกศีรษะ
อาการไข้ และเพิ่มอัตราการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง
อาการของเนื้อสมองถูกกดหรือมีสิ่งกินที่เกิดขึ้น
อาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน การรับรู้ลดลง ชา และชัก
อาการที่ปรากฎครั้งแรกจะมีไข้ตํ่าๆ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ คอ
และมีอาการคอแข็งเล็กน้อย มีอาการงุนงง (Confusion) ง่วงงง (Drowsiness) การรับความรู้สึกบกพร่อง ตลอดจนการติดต่อสื่อสาร
นางสาวเมธาวลัย ชัยรักษา
รหัสนักศึกษา 6301110801035