Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (Early adulthood) - Coggle Diagram
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (Early adulthood)
พัฒนาการของวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
พัฒนาการด้านร่างกาย
พัฒนาการด้านอารมณ์
พัฒนาการด้านสังคม
พัฒนาการด้านสติปัญญา
ผ่านระยะพัฒนาการของวัยรุ่น บุคคลจะเข้าสู่ระยะวัยผู้ใหญ่ (Adulthood)
แบ่งวัยผู้ใหญ่ออกเป็น 3 ระยะ
วัยผู้ใหญ่ตอนต้น (Early adulthood) ตั้งแต่อายุ 20 ถึง 40 ปี
วัยกลางคน (Middle adulthood) คือช่วงอายุ 40 – 60 ปี
วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ (Late Adulthood,Aging) อายุ 61 ปีขึ้นไป
พัฒนาการทางสติปัญญา
พัฒนาการทางความคิดตามแนวคิดของเพียเจท์
กล่าวว่าวัยผู้ใหญ่มีพัฒนาการทางความคิดสติปัญญาอยู่ในระดับ
Formal operations ซึ่งเป็นขั้นสูงที่สุดของพัฒนาการ
มีความสามารถทางสติปัญญาสมบูรณ์ที่สุด
คือคุณภาพของความคิดจะเป็นระบบ
ลักษณะที่สำคัญของผู้ใหญ่ตอนต้น
เป็นวัยของการบรรลุวุฒิภาวะ
เป็นวัยแห่งปัญญา
เป็นวัยแห่งการสำรวจ
เป็นวัยแห่งการมีคววามตึงเครียดทางอารมณ์
เป็นวัยแห่งการเริ่มสร้างหลักฐานของชีวิต หรือเป็นวัยแห่งการทำงาน
เป็นวัยของช่วงเวลาสืบเชื้อสายวงศ์ตระกูล เป็นวัยที่มีคู่ชีวิต
พัฒนาการด้านร่างกาย
พัฒนาทางร่างกายอย่างเต็มที่ทั้งเพศหญิงและเพศชาย ร่างกายสมบูรณ์
มีการพัฒนาความสูงมาจากวัยรุ่นและจะมีความสูงที่สุดในวัยผู้ใหญ่ตอนต้นนี้
รวมทั้งกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อไขมัน มีการพัฒนาอย่างเต็มที่เช่นกัน
เพศชายอายุประมาณ 20 ปี ไหล่จะกว้าง มีการเพิ่มขนาดของต้นแขน
และมีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อมากขึ้น
เพศหญิงเต้านมและสะโพกมีการเจริญเต็มที่
ในวัยนี้ร่างกายจะมีพลัง คล่องแคล่วว่องไว การรับรู้ต่าง ๆ
พัฒนาการด้านอารมณ์
มีความมั่นคงทางจิตใจดีกว่าวัยรุ่น
รู้สึกยอมรับผู้อื่นได้ดีขึ้น มีพัฒนาการด้านอารมณ์รัก ได้ในหลายรูปแบบ
เช่น รักแรกพบ (Infatuation) หรือรักแบบโรแมนติก (Romantic love)
มีการใช้กลไกทางจิตชนิดฝันกลางวัน การเก็บกด น้อยลง
พัฒนาการด้านสังคม
ทฤษฎีพัฒนาบุคลิกภาพของอิริคสัน
วัยผู้ใหญ่ตอนต้นอยู่ในขั้นพัฒนาการขั้นที่ 6
คือความใกล้ชิดสนิทสนมหรือการแยกตัว
สังคมของบุคคลวัยนี้คือ เพื่อนรัก คู่ครอง
ให้ความสำคัญกับกลุ่มเพื่อนร่วมวัยลดลง
การสัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัวจะเพิ่มขึ้น
การปรับตัวกับบทบาทใหม่
ชีวิตการทำงาน
= บุคคลส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วง
ของการศึกษาระดับอุดมศึกษา หรือใกล้ที่จะสำเร็จการศึกษา
ชีวิตคู่
เริ่มต้นการมีสัมพันธภาพกับ
เพื่อนต่างเพศจนพัฒนามาเป็นความรักในวัยผู้ใหญ่
บางคนเริ่มต้นมีความสนใจเรื่องความรักอย่างจริงจัง
โดยมีลักษณะคิดที่อยากจะใช้ชีวิตร่วมกัน
บทบาทของการเป็นสามีหรือภรรยา
ชีวิตโสด
= ในสังคมปัจจุบันพบว่ามีคนจำนวนไม่น้อยมีความสุขกับชีวิตโสด
ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการอุทิศเวลาให้กับงาน มีความภาคภูมิใจในตนเองอย่างมาก
ปัญหาที่พบในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น
ปัญหาสุขภาพ เนื่องมาจากลักษณะ
การดำรงชีวิต (The Lifestyle)
วัยนี้มีการปรับบทบาทใหม่อย่างมาก
ปัญหาที่เกิดขึ้นจึงเป็นปัญหาที่เกิดจากการไม่สามารถ
ปรับเข้าสู่บทบาทใหม่ เช่น มีปัญหาในการทำงาน
นางสาวเมธาพร บุพศิริ
รหัสนักศึกษา 641201202