Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยว กับประสาทสมองและการรับรู้ - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยว
กับประสาทสมองและการรับรู้
โรคอัลไซเมอร์หมายถึงโรคสมองเสื่อมที่เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ เกิดจากการตายของเซลล์ประสาท ซึ่งพบ
ได้บ่อย ในช่วงอายุ 50 ปี ขึ้นไป
อาการ
ความเปลี่ยนแปลงด้านความจำ
นึกคำพูดได้ช้าลง
สับสนเรื่องวัน เวลา สถานที่ หรือจำบุคคลที่เคยรู้จักไม่ได้
ความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
อารมณ์
แปรปรวน หงุดหงิดง่าย ก้าวร้าว หวาดระแวง
ความเปลี่ยนแปลงในการดำเนินชีวิตประจำวัน
หรือไม่สามารถ
ใช้อุปกรณ์ต่างๆ ได้ ทั้งที่ปกติใช้อยู่เป็นประจำ
โรคพาร์กินสันเป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อม
ของสมองเนื่องจากเซลล์สมองบริเวณส่วนลึก
เบซอลแกงเกลียมีความผิดปกติ
อาการ
1.อาการสั่นในขณะช่วงพัก
ใหญ่จะเกิดอาการสั่นขึ้นที่นิ้วมือก่อน สั่นมากเวลาอยู่นิ่งๆ
2.อาการที่ร่างกายมีสภาพแข็งเกร็ง
มีเเรงต้านเมื่อผู้อื่นกับเเขนขา
3.อาการเคลื่อนไหวร่างกายช้าลง
พูดเบาลง ไม่ยิ้ม ใบหน้าเคลื่อนไหวน้อยลง
อาการของการทรงตัวขาด
สมดุล หรือ สูญเสียการทรงตัว
ขณะที่ยืนช่วงลำตัวของผู้ป่วยจะเอนไป
ด้านหน้า
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยกายภาพบำบัด
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก (Deep brain
stimulation
การผ่าตัดฝังขั้วไฟฟ้าแล้วปล่อย ไฟฟ้า
เข้าไปกระตุ้นสมอง
-การผ่าตัดสมองเพื่อปลูกถ่ายเนื้อเยื่อชนิดที่ผลิต
สารโดพามีนได้
การดูแล
กิจวัตรประจำวัน
อุบัติเหตุ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนในเเต่ละระยะของโรค
ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
(Multiple sclerosis)
Sensory system
การรับความรู้สึกลดลง=ชา
การรับความรู้สึกที่ข้อต่อว่าอยู่ที่ตำแหน่ง
ใดลดลง=เดินเซ
Vision: การมองเห็น
ตามัว (visual loss):
ตากระตุก (nystagmus)
การกลอกตาผิดปกติ:
อาการอื่นๆ
เวียนศีรษะ
กลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่อยู่
อาการทางจิตประสาท เช่น ซึม
เศร้า, สมองเสื่อม
ปลายประสาทอักเสบ (Peripheral
neuropathy)
การดูแล รักษา
กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด ช่วยลดอาการชา อาการปวดได้เช่นการอาบน้ำอุ่น ควบคุมน้ำหนัก คุมระดับน้ำตาล
ในเลือด
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
ป้องกันการขาดวิตามิน
ลดการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์
ยาแก้อักเสบ ยาแก้ปวดรับประทานและชนิดฉีดชนิดทา และนวด
การผ่าตัด การกระตุ้นด้วยไฟฟ้า
Guillian-Barre Syndrome
อาการเเสดง
อาการด้านประสาทรับความรู้สึก
อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงมัก
อาการลุกลามเส้นประสาทสมอง
การพยาบาลระยะวิกฤตภาวะอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดภาวะหายใจล้มเหลว